แนวทางการดำเนินงานสุขภาพจิต

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Homeward& Rehabilitation system
Advertisements

ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
ภารกิจที่ ๑ ๑.๑ การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรค
การอบรม อสม. รุ่น 2 เป้าหมาย อสม.รุ่น 1 - อสมช. ด้านโรคความดันโลหิตสูง
บทบาท อสม. ในการดำเนินการ“รวมพลัง อสม
นโยบายการพัฒนาเด็กปฐมวัย
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (รนสช.)
ความหมายและกระบวนการ
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
การประชุมเชิงปฏิบัติการใช้ค่ากลาง
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
หน้าที่กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ ในศูนย์พักพิงผู้ประสบอุทกภัย
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
สุขภาพจิต ในงานสาธารณสุขไทย 2556.
ยุทธศาสตร์ กรมสุขภาพจิต
การบริการวิกฤตสุขภาพจิตและการปฏิบัติงานทีม MCATTและบทบาทหน้าที่
แนวทางการดำเนินงาน และ แผนการดำเนินงาน
โรงพยาบาลสวนสราญรมย์
เขต 15 เขต 15: เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แม่ฮ่องสอน.
สรุปการประชุม เขต 10.
แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายสำคัญของกระทรวงสาธารณสุข
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
การขับเคลื่อนการดำเนินงานสุขภาพจิตชุมชน
สามารถแก้ไขข้อมูล ได้ดังนี้ รหัสผ่าน (username / password) ของตำบล แก้ไข - เพิ่มเติม ฐานข้อมูลทั่วไป ของจังหวัด แก้ไข - เพิ่มเติม.
คณะที่ ๑ : การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรค ประเด็นหลักที่ ๑. ๑
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2555 ดรุณี โพธิ์ศรี งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
นโยบาย ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ของกระทรวงสาธารณสุข
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริม ป้องกันและควบคุมโรคธาลัสซีเมีย
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
ย.๔ พัฒนาระบบบริการสุขภาพวัยรุ่นในสถานบริการ
ส่งเสริมสัญจร.
นายแพทย์สมพงษ์ สกุลอิสริยาภรณ์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ
โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์
*ppt.2 ระบบดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้า การอบรมการดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้า สำหรับผู้ปฏิบัติในพื้นที่ สนับสนุนโดย กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข.
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
ความท้าทาย....ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค
เพิ่มภาพ แผนที่ตำบล หรือภาพกิจกรรมชมรมสูงอายุในพื้นที่
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
การพัฒนางานวิกฤตสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2558
นิยาม ศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ (Psychosocial Clinic) หน่วยบริการระดับโรงพยาบาลชุมชนที่มีการจัดบริการดูแล ช่วยเหลือทางสังคมจิตใจทุกกลุ่มวัย โดยมีองค์ประกอบ.
การดำเนินงานสุขภาพจิตเครือข่าย ในเขตสุขภาพที่10 ปีงบประมาณ 2558
นำเสนอแผนปฏิบัติการสาธารณสุข
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
Pass:
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
แนวทางการดำเนินงานสุขภาพจิต กลุ่มวัยทำงาน
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
สกลนครโมเดล.
1.1 ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง ตามเกณฑ์
ร้อยละของของเด็กตั้งแต่แรกเกิด - 6 เดือน แรกมีค่าเฉลี่ยกินนมแม่อย่างเดียวมากกว่า หรือเท่ากับ 60.
ประชุมประสานแผนทันตฯ จังหวัด หนองบัวลำภู ปีงบประมาณ ๒๕๕๘ ๑๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ ห้องประชุม สสอ. เมือง.
ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดโรคและภัยสุขภาพ รอบ 5 เดือน ( ตุลาคม กุมภาพันธ์ 2554 )
สาขาจิตเวช.
การพัฒนาสุขภาพ : กลุ่มเด็กวัยเรียน
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
กรอบการจัดทำแผนพัฒนาโรงพยาบาล ร้อยเอ็ด ประจำปี ๒๕๕๖ แนวคิด ปี ๒๕๕๖ ปีแห่งการวิเคราะห์และประเมิน ตนเองอย่างเข้มข้น วิเคราะห์เพื่อ พัฒนางาน ให้ได้ตาม มาตรฐาน.
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
การป้องกัน การเสริมสร้างบทบาทองค์ ความรู้แก่ผู้นำทาง ความคิดของเด็กและ เยาวชน การพัฒนาความร่วมมือ ของ ภาคีเครือข่าย การขจัดสิ่งยั่วยุและ อิทธิพลจากสื่อ.
โปรแกรมเฝ้าระวัง การเจริญเติบโตของเด็กอายุ 0-18 ปี
กรอบประเด็น คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
ผลการ ดำเนินงาน 5.1 โครงการ ส่งเสริมและ ป้องกันปัญหา สุขภาพจิต ต. ค.46- มี. ค.47 เขต 8 และ เขต 9.
คลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางการดำเนินงานสุขภาพจิต ปี 2555 จังหวัดสกลนคร

รณรงค์สัปดาห์สุขภาพจิต วันที่ 1-7 พฤศจิกายน ของทุกปี เจ้าหน้าที่สาธารณสุข - จัดนิทรรศการ บอร์ด เสียงตามสาย ให้ความรู้ด้านสุขภาพจิต ฉายวิดิทัศน์ เดือน พฤศจิกายน 2554

รณรงค์สัปดาห์สุขภาพจิต วันที่ 1-7 พฤศจิกายน ของทุกปี อ.ส.ม. เสียงตามสาย หอกระจายข่าว ให้ความรู้สุขภาพจิต

รณรงค์สัปดาห์สุขภาพจิต วันที่ 1-7 พฤศจิกายน ของทุกปี การส่งแบบรายงาน รายงานการรณรงค์ สิ้นเดือน พฤศจิกายน 2554 หน่วยงานที่ส่งรายงานแล้ว ภูพาน คำตากล้า อากาศอำนวย บ้านม่วง พรรณนานิคม ส่องดาว พังโคน

ค้นหาและดูแลผู้ป่วยโรคจิต ลมชักและปัญญาอ่อน ในชุมชน เจ้าหน้าที่สาธารณสุข 1.1 อบรม อสม.เรื่องโรคจิต ลมชัก ปัญญาอ่อน 1.2 ติดตามเยี่ยมและเป็นที่ปรึกษาให้ อสม.

ค้นหาและดูแลผู้ป่วยโรคจิต ลมชักและปัญญาอ่อน ในชุมชน(ต่อ) อ.ส.ม. 1.1 ค้นหาผู้ป่วย 3 โรค โดยใช้แบบสำรวจและบันทึกในทะเบียนผู้ป่วย เก็บไว้ที่ ศสมช. 1.2 ติดตามเยี่ยมและดูแลผู้ป่วย ให้ครบ 4 ครั้ง/ ปี และบันทึกในทะเบียนผู้ป่วย ทุกครั้ง

ค้นหาและดูแลผู้ป่วยโรคจิต ลมชักและปัญญาอ่อน ในชุมชน(ต่อ) การส่งแบบรายงาน รายงาน ศสมช. 01/1 งวดที่1 (ตค.-มีค) ส่งวันที่ 5 เมย.55 งวดที่2 (เมย.-กย) ส่งวันที่ 5 ตค.55 * เก็บข้อมูลจากทะเบียนผู้ป่วยสุขภาพจิต

รณรงค์สุขภาพจิตครอบครัว วันที่ 13-15 เมษายน ของทุกปี เจ้าหน้าที่สาธารณสุข - จัดนิทรรศการ บอร์ด เสียงตามสาย ให้ความรู้ด้านสุขภาพจิต ฉายวิดิทัศน์

รณรงค์สุขภาพจิตครอบครัว วันที่ 13-15 เมษายน ของทุกปี อ.ส.ม. เสียงตามสาย หอกระจายข่าว ให้ความรู้สุขภาพจิต

รณรงค์สุขภาพจิตครอบครัว วันที่ 13-15 เมษายน ของทุกปี การส่งแบบรายงาน รายงานการรณรงค์ สิ้นเดือน เมษายน 2555

สุขภาพจิตในหญิงตั้งครรภ์ (ตามเกณฑ์ พบส.) เจ้าหน้าที่สาธารณสุข ทำแบบประเมินความเครียด(สมุดฝากครรภ์) อย่างน้อย 2 ครั้ง ในหญิงมีครรภ์ที่ฝากครรภ์ คือ 1. ครั้งแรกที่มาฝากครรภ์ 2. ก่อนคลอด 1 เดือน

รายงานสุขภาพจิต 8 โรค เจ้าหน้าที่สาธารณสุข ให้บริการบำบัดรักษาผู้ป่วยสุขภาพจิตในสถานบริการ

รายงานสุขภาพจิต 8 โรค การส่งแบบรายงาน ส่งแบบรายงานผลการบำบัดรักษาผู้ป่วยสุขภาพจิต 8 โรค ส่งรายงาน ทุก 3 เดือน ( 4 งวด)

โครงการป้องกันปัญหาผู้มีภาวะซึมเศร้า ตัวชี้วัดความสำเร็จ ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าในจังหวัด เข้าถึงบริการเพิ่มขึ้น 25% ของปี 2554

สกลนคร 9.2%

ค้นหาและดูแลผู้ป่วยโรคจิต ลมชักและปัญญาอ่อน ในชุมชน โครงการป้องกันปัญหาผู้มีภาวะซึมเศร้า อ.ส.ม. คัดกรองผู้มีภาวะซึมเศร้า จากกลุ่มเสี่ยงในชุมชน ด้วย 2Q หรือ DS8 - เมื่อพบ ผู้มีภาวะซึมเศร้า ให้ส่งต่อ เจ้าหน้าที่สาธารณสุข

โครงการป้องกันปัญหาผู้มีภาวะซึมเศร้า เจ้าหน้าที่สาธารณสุข คัดกรองภาวะซึมเศร้าผู้ป่วยในสถานบริการ (2Q หรือ DS8) - ประเมินภาวะซึมเศร้า (9Q) ประเมินภาวะเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย (8Q) เมื่อมีภาวะซึมเศร้าให้ลง ใน 21แฟ้ม (รหัส Z133) และบันทึกข้อมูลonline (thaidepression.com)

การลงบันทึกข้อมูล ปี 2555 สปสช. ยกเลิกการสนับสนุนงบประมาณที่ได้จาก เวป รพ.พระศรีมหาโพธิ์ แต่ยังคงสนับสนุนงบประมาณ ในการคัดกรองผู้ป่วยซึมเศร้า ตั้งแต่ 15 ปี ขึ้นไป ในกลุ่มเสี่ยง ได้แก่ ผู้พิการ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้ป่วยมะเร็ง ผู้สูงอายุ หญิงตั้งครรภ์และหลังคลอด ผู้มีอารมณ์เศร้าชัดเจน ผู้ติดสารเสพติด เน้น... ลงบันทึกข้อมูล ใน 21 แฟ้ม ด้วยรหัส z133**

การลงบันทึกข้อมูลใน 21 แฟ้มข้อมูล รพช. Hos xp ไปที่ หน้าคัดกรอง 2Q 9Q 8Q  save ไปที่ หน้าตรวจรักษา  ให้ลงในช่อง Dxโรค ด้วยรหัส z133 ** หน้าตรวจรักษา  ให้ลงในช่อง Dx ลงรหัส ICD10 (F30 F321 F……) จากนั้น นำส่งออก ข้อมูล เข้า สสจ.สกลนคร รพ.สต. J- HCIS ไปที่ หน้าตรวจรักษา  ให้ลงในช่อง Dxโรค ด้วยรหัส z133 ** การให้ยา  ลงยา ตัวใด ตัวหนึ่ง เช่น para, cpm  save งาน ICTสสจ.สกลนคร นำส่งข้อมูลให้ สปสช. จัดสรรงบประมาณ ตามผลการคัดกรอง

www.thaidepression.com Download 15 มีนาคม เป็นต้นไป

โครงการดูแลช่วยเหลือผู้มีภาวะ เสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย ตัวชี้วัดความสำเร็จ 1.อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จไม่เกิน 6.5 ต่อ ปชก.แสนคน 2. ร้อยละ 70 ของผู้ที่พยายามฆ่าตัวตายไม่สำเร็จได้รับการดูแลช่วยเหลืออย่างต่อเนื่อง 3. อัตราการฆ่าตัวตายซ้ำลดลง จากเดิม ร้อยละ 10

โครงการดูแลช่วยเหลือผู้มีภาวะ เสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย เจ้าหน้าที่สาธารณสุข - คัดกรองแนวโน้มซึมเศร้าผู้ป่วยในสถานบริการ - ประเมินภาวะซึมเศร้า ประเมินภาวะเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย เมื่อมีภาวะซึมเศร้าหรือพยายามทำร้ายตัวเอง ลงรายงานใน 506 DS, online หากพบผู้ป่วย suicide สำเร็จ ให้บันทึกใน มบ.1

ค้นหาและดูแลผู้ป่วยโรคจิต ลมชักและปัญญาอ่อน ในชุมชน โครงการดูแลช่วยเหลือผู้มีภาวะ เสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย การส่งแบบรายงาน 1) ส่ง - รง.1/1 วันที่ 5 เมษายน 2555 รง.1/2 วันที่ 5 กรกฎาคม 2555 รง.1/3 วันที่ 5 ตุลาคม 2555 2) มบ.1 ส่งทันที ที่มีผู้ป่วย suicide ในพื้นที่

ผู้ปฏิบัติงานสุขภาพจิต ท่านใด ยังไม่มี username password WWW .SUICIDETHAI.COM ผู้ปฏิบัติงานสุขภาพจิต ท่านใด ยังไม่มี username password ให้แต่ละอำเภอรวบรวม รายชื่อ และรพช/รพ.สต. ส่งมาที่ งานสุขภาพจิต สสจ.สกลนคร

การพัฒนาระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวช แนวทางการพัฒนาคุณภาพการบริการ แบบประเมินตนเอง

กรอบแนวคิดและแนวทางการพัฒนาสติปัญญาเด็กไทยในจังหวัดต้นแบบ

แนวทางการพัฒนาสติปัญญาเด็กไทย ในจังหวัดต้นแบบ มุ่งเน้นการพัฒนาสติปัญญาเด็กไทย 3 วัยและดำเนินงานในระดับจังหวัด ในแต่ละจังหวัดจะดำเนินการทุกอำเภอๆ ละ 1 ตำบลเป็นอย่างน้อย 2555 ฉะเชิงเทรา ลพบุรี สุรินทร์ สกลนคร กระบี่ เชียงราย

ผลการสำรวจระดับสติปัญญารายจังหวัด Mean Total N ลพบุรี 99.62 953 เชียงราย 99.32 967 สุรินทร์ 97.42 1057 ฉะเชิงเทรา 97.03 944 กระบี่ 93.85 916 สกลนคร 93.74 983 จังหวัดที่ IQ เฉลี่ย = 100 จังหวัดที่ IQ เฉลี่ย < 100

แนวทางการดำเนินงานจังหวัดต้นแบบ พัฒนาระบบสาธารณสุขให้มีการเฝ้าระวังใน WBC และในชุมชน (ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก) อปท. ดูแลศูนย์พัฒนาเด็กเล็กจัดกิจกรรมส่งเสริม 2ก2ล และ ชุมชนจัดกิจกรรมสำหรับเด็กวัยเรียน/วัยรุ่นได้ มีระบบการเฝ้าระวังปัญหาเด็กวัยเรียนในโรงเรียน

เป้าประสงค์ มีรูปแบบการเฝ้าระวังปัญหาพัฒนาการและปัญหาเด็กวัยเรียนในชุมชน มีกิจกรรมการดูแลเมื่อเด็กเสี่ยง/มีปัญหา มีกิจกรรมส่งเสริมป้องกัน ได้แก่ 2ก2ล กิจกรรมเด็กวัยเรียน/วัยรุ่นในชุมชน

เป้าประสงค์ การประเมินผลไอคิว อีคิว มีการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้นโดยในปี 2555 ระดับสติปัญญาเด็กวัยเรียนเพิ่มขึ้น 0.005 จุด โดยใช้ฐานการสำรวจของกรมสุขภาพจิตปี 2554 ในแต่ละจังหวัด) และในปี 2559 ระดับความฉลาดทางสติปัญญาเด็กวัยเรียนไม่ต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน

กลุ่มเป้าหมาย ๙.๑ กิจกรรมอบรมครู ข (วันที่ 20-21 มีนาคม 2555 ภูพานรีสอร์ท ) เจ้าหน้าที่สาธารณสุขจาก สสอ., รพ.สต./รพช, เจ้าหน้าที่ อปท, ครูพี่เลี้ยงศูนย์เด็กเล็ก ครูปฐมวัย จำนวน ๙๐ คน (แบ่งเป็น 2 รุ่นๆ ละ 45 คน) ๙.๒ กิจกรรมอบรมพยาบาลกระตุ้นพัฒนาการเด็ก (วันที่ 22 มีนาคม 2555 ภูพานรีสอร์ท) พยาบาลผู้รับผิดชอบ Well Baby ในรพ.สต.ที่เข้าร่วมโครงการ ๓๓คน/รพช. ๑๗คน จำนวน ๕๐ คน ๙.๓ กิจกรรมอบรมพ่อแม่ผู้ปกครองเด็ก (เดือน เมษายน – พฤษภาคม 2555) พ่อแม่ผู้ปกครองเด็ก อายุ ๓-๕ ปี ในศูนย์เด็กเล็ก รวม ๗๘ แห่งๆ ละ ๓๐ คน จำนวน ๒,๓๔๐ คน ๙.๔ กิจกรรมรณรงค์ฯ ประชาชนทั่วไป (เดือน เมษายน - พฤษภาคม 2555) สิ่งที่ต้องทำ เตรียมบุคลากร เข้าร่วมอบรม ครู ข, และ วางแผน จัดกิจกรรม อบรมพ่อแม่เด็ก

ตำบลเป้าหมาย อำเภอ ตำบลที่คัดเลือก เมืองสกลนคร ขมิ้น กุสุมาลย์ โพธิไพศาล กุดบาก นาม่อง พรรณานิคม ช้างมิ่ง พังโคน ไฮหย่อง วาริชภูมิ หนองลาด นิคมน้ำอูน สุวรรณคาม วานรนิวาส เดื่อศรีคันไชย คำตากล้า หนองบัวสิม บ้านม่วง บ่อแก้ว อากาศอำนวย วาใหญ่ สว่างแดนดิน บงเหนือ ส่องดาว ท่าศิลา เต่างอย จันทร์เพ็ญ โคกศรีสุพรรณ ตองโขบ เจริญศิลป์ โพนนาแก้ว นาตงวัฒนา ภูพาน หลุบเลา www.themegallery.com