การผลิตบัณฑิตกับวิชาการสายรับใช้สังคม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเรียนรู้ ในศตวรรษที่ ๒๑
Advertisements

โลกและความท้าทายในศตวรรษที่ ๒๑
องค์ประกอบของกระบวนการเรียนการสอน
ทำไมต้องอบรม ? การสร้างเครือข่ายสังคมแห่งการเรียนรู้(Social Network)
โครงการพัฒนาทักษะการเรียนรู้แบบบูรณาการ
แนวคิดในการพัฒนาบุคลากรระดับปริญญาเอก
การขับเคลื่อนการพัฒนากระบวนการคิด
นายกสภา มหาวิทยาลัยมหิดล
กลไกชาติสร้างเด็กไทยก้าวทันโลกยุคใหม่
โครงการนิเทศเต็มพิกัดโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน สู่การยกระดับคุณภาพการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามุกดาหาร โดย ปรีชา พาลุกา ศึกษานิเทศก์
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การจัดการความรู้สู่การเป็น องค์กรแห่งการเรียนรู้
Learning Organization PSU.
นโยบายการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา
บทบาทของนักวิจัยไทย ต่อ
ความเป็นเลิศและความรับผิดชอบต่อสังคม
ความฝันเกี่ยวกับ นศ. มหิดล
มหาวิทยาลัยแห่งการเรียนรู้
อาจารย์ ดร. พีรศักดิ์ สิริโยธิน คณบดีสำนักวิชาเทคโนโลยีสังคม
อาจารย์ ดร. พีรศักดิ์ สิริโยธิน คณบดีสำนักวิชาเทคโนโลยีสังคม
ความสำคัญและการนำสู่การปฏิบัติ
การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียน การสอน
รศ.ดร.เทียมจันทร์ พานิชย์ผลินไชย
การศึกษาที่มีคุณภาพสำหรับศตวรรษที่ ๒๑
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องนโยบายการปฏิรูป การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
สรุปกรอบการพัฒนาหลักสูตรกิจกรรมลูกเสือ
การปฏิรูปอุดมศึกษาไทยและความสำคัญของ Learning Outcome Assessment
21st Century Learning and Medical Education
เพื่อคุณภาพของเด็กและเยาวชน
เวชจริยศาสตร์และการคิดเชิงวิพากษ์
มองอนาคตอุดมศึกษาไทย
การจะดการความรู้ด้านวิชาการ (Academic Knowledge Management : AKM)
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
บัณฑิตที่พึงประสงค์.
ข้อเสนอยุทธศาสตร์การดำเนินงาน เครือข่ายพัฒนาบัณฑิตอุดมคติ เขตภาคกลาง 2554 จิรวัฒน์ วีรังกร.
ขอต้อนรับทุก ท่าน WELCOME ! No 1. การบรรยายความรู้ มุมมองใหม่ กับการทำงานส่งเสริมเคหกิจ เกษตร วันพุธที่ ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๕๔ ระหว่างเวลา ๑๕. ๐๐ – ๑๖. ๐๐ น.
การบรรยายเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา สำหรับนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 มิถุนายน 2547.
การนำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์
การยกระดับคุณภาพ การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
หลักสูตรใหม่.... Knowledge กลุ่มความรู้ Knowledge Cluster 1. ภาษาและวัฒนธรรม Language and Culture 2. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและคณิตศาสตร์ Science, Technology,
สถาบันคลังสมองของชาติ 26 กุมภาพันธ์ 2554
เพศศึกษา ในศตวรรษที่ 21.
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
การพัฒนาระบบสนับสนุนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ในอุดมศึกษาไทย วิจารณ์ พานิช กรรมการบริหารสถาบันคลังสมองฯ นำเสนอในการประชุมเพื่อนําเสนอผลจากการดําเนินงานตามโครงการปฎิบัตกิ าร ภายใต้หลักสูตรคณบดีเพื่อการเปลี่ยนแปลงรุ่น.
การพัฒนาคุณธรรมในศตวรรษที่ ๒๑
ผศ.ดร.อังสนา บุญธรรม ภาควิชาอนามัยชุมชน คณะสาธารณสุขศาสตร์ ม.มหิดล
ครูปฐมวัย การพัฒนาเด็กในศตวรรษที่ 21
การนำผลการประเมินหลักสูตรไปใช้
การเรียนการสอนในศตวรรษที่ ๒๑
การวิจัยในงานประจำ.
วทน. กับสังคม เรียนรู้ วิจารณ์ พานิช มูลนิธิสถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อ สังคม ( สคส.)
3. หลักการวิจัย หลักการวิจัย : สำราญ สาราบรรณ์.
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
การประเมินผลระหว่างเรียนที่ ส่งเสริมการสอนของครูและ การเรียนรู้ของนักเรียนใน ศตวรรษที่ 21.
ประเด็นบรรยาย ๑. ทำไมต้อง “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” ๒. นโยบายของโครงการ ลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ ๓. ผล O-net ของโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการ ลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้
การบริหารงานวิชาการ สู่ศตวรรษที่ 21
นายดำหริ งิมสันเทียะ ผอ.สพป.อย.1
การปฏิรูปการศึกษาเพื่อพัฒนาคนอย่างยั่งยืน พ.ศ
การแนะแนวอาชีพในศตวรรษที่ 21
การเรียนรู้ ในศตวรรษที่ ๒๑
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑
โดย ดร.ปราณี คงพิกุล ผอ.กลุ่มนิเทศติดตามและประเมินผลการศึกษา
นายดำหริ งิมสันเทียะ ผอ.สพป.อย.1
ดร.ศรีวรรณ ฉัตรสุริยวงศ์ ครูเชี่ยวชาญ (คศ.4)
12-13 พฤษภาคม 2561 ณ หอประชุมภัคพิพิธ โรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัย ๒
มโนทัศน์การจัดการศึกษา แห่งอนาคตใหม่
Skills of 21st century learning ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 3Rs X 7Cs (เรียนรู้ตลอดชีวิต) Reading ’Riting (Writing) ’Rithmetic (Arithmetic) ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ.
การพัฒนาทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
บรรยายโดย พันเอก ณัฐพงษ์ เพราแก้ว
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การผลิตบัณฑิตกับวิชาการสายรับใช้สังคม วิจารณ์ พานิช ประธานคณะกรรมการการอุดมศึกษา รองประธานมูลนิธิสยามกัมมาจล บรรยายในการสัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่อง “การพัฒนาวิชาการสายรับใช้สังคม” จัดโดยสำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา และมูลนิธิสยามกัมมาจล ๒๙ มิ.ย. ๒๕๕๔

ปฏิรูปอุดมศึกษา ๒ เรื่องใหญ่ วิชาการสายรับใช้สังคม 21st Century Learning ปฏิรูปอุดมศึกษาในระดับเปลี่ยนกระบวนทัศน์

อุดมศึกษากับสังคม สังคมไทยอยู่ในวิกฤตความขัดแย้ง ความไม่เท่าเทียม ขาดสำนึกพลเมือง อุดมศึกษาต้องมีส่วนป้องกัน แก้ไข ให้สังคมไทยรู้เท่าทันโลก ก้าวสู่สังคมเรียนรู้ สังคมปัญญา รู้จักตัวเอง มั่นใจตัวเอง ช่วยตัวเอง ช่วยเหลือกัน คนไทยมีสำนึกพลเมือง

สัจธรรมของโลกใน 21st Century โลกเปลี่ยน สังคมเปลี่ยน เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา เปลี่ยนเร็วขึ้น คนเปลี่ยน นศ. เปลี่ยน ต้องผลิตบัณฑิตตามสภาพความเป็นจริงนี้ ให้บัณฑิตออกไปอยู่ดีมีสุข เป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง และเป็นส่วนหนึ่งของสังคมที่อยู่ดีมีสุขร่วมกัน ในสังคมที่เปลี่ยนแปลงไม่หยุดนิ่ง

วิชาการ ๒ สายเสริมส่งซึ่งกันและกัน สายนานาชาติ สายรับใช้สังคม ผลลัพธ์ วัดผลกระทบ โจทย์มาจาก ตีพิมพ์นานาชาติ Impact Factor วิชาการ ความอยากรู้ ผลต่อสังคม Societal Impact ปัญหา/โอกาส ของสังคม

Not mutually exclusive วิชาการสายนานาชาติก็เป็นประโยชน์ต่อสังคม วิชาการสายรับใช้สังคมก็ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการนานาชาติได้ เรายังไม่มีระบบวิชาการสายรับใช้สังคม

วิชาการ ๒ สายเสริมส่งซึ่งกันและกัน สายนานาชาติ สายรับใช้สังคม ผลลัพธ์ วัดผลกระทบ โจทย์มาจาก ตีพิมพ์นานาชาติ Impact Factor วิชาการ ความอยากรู้ ผลต่อสังคม + ตีพิมพ์นานาชาติ SI + IF ปัญหา/โอกาส ของสังคม

กิจกรรมที่นำไปสู่การรับใช้สังคม ของมหาวิทยาลัย R วิจัย S บริการ L เรียนรู้ H ศิลปะ วัฒนธรรม Heritage

เข้าไปร่วมทำงาน ร่วมเรียนรู้ กับสังคม R วิจัย S บริการ L เรียนรู้ H ศิลปะ วัฒนธรรม Right Attitude ไม่ใช่เข้าไปช่วยเหลือหรือถ่ายทอดความรู้

การผลิตบัณฑิตในศตวรรษที่ ๒๑ Teach less, Learn more Beyond content, Towards skills & attitude development Beyond individual learning, Towards team learning From sequential : theory -> practice; to integrated (practice & theory) learning From Classroom to Studio From Lecture-based to Project-based

Learning Resource : 21st Century Skills Beyond Teaching Beyond Content Beyond Knowledge Beyond Textbooks Beyond Classroom Beyond Schools / Universities No more teacher / lecturer

21st Century Skills

คุณภาพของระบบการเรียนรู้ ต้องไปให้ถึง 21st Century Skills Transformative Learning (จาก informative & formative) มี Change Agent Skills, Leadership ความเป็นพลเมือง

ความจริงของศตวรรษที่ ๒๑ สังคม/โลก เปลี่ยน เด็กเปลี่ยน ทักษะที่ต้องการในการดำรงชีวิตเปลี่ยน การเรียนรู้ต้องเปลี่ยน สอนไม่ได้ผล ต้องเรียน ครูต้องไม่เน้นสอน เน้นออกแบบการเรียนรู้ เน้นสร้างแรงบันดาลใจ เน้นเป็นโค้ช ไม่ใช่ผู้สอน

21st Century Student Outcomes & Support Systems Learning & Innovation Skills Core Subjects & 21st Century Themes Life & Career Skills Information, Media, & Technology Skills Standards & Assessments Curriculum & Instruction Professional Development Learning Environment http://gotoknow.org/blog/thaikm/tag/21st Century Skills

+ 2L 3Rs + 7Cs Reading, ‘Riting, ‘Rithmetics Critical thinking & problem solving Creativity & innovation Collaboration, teamwork & leadership Cross-cultural understanding Communication, information & media literacy ( 2 – 3 ภาษา) Computing & media literacy Career & learning self-reliance Change Learning Leadership

ทักษะที่ต้องการได้แก่ Learning Skills Critical Thinking, Leadership Skills Complex Problem-Solving, Innovation Collaboration & Competition, Sharing Skills Personal Mastery Empathy Communication (รวม Listening) Life Skills, Intercultural Skills Etc.

“อ่านออกเขียนได้” (Literacy) ตีความใหม่ Media Literacy Communication Literacy Team Literacy, Social Literacy Networking Literacy Environment / Earth Literacy STEM Literacy Aesthetics Literacy Civic Literacy Etc. รู้ ใช้ในชีวิตประจำวัน รู้เท่าทัน

21st Century Learning Teach less, Learn more Beyond subject matters Student-directed Learning Collaborative (> Competitive) Team (>Individual) Learning New paradigm of evaluation : beyond standard, evaluate team, open (not secret) approach

เรียนเพื่อฝึกฝนพัฒนาสมองมนุษย์

วิธีจัดการเรียนรู้ 21st Century Skills ใช้ PBL เรียนโดยการ “ปฏิบัติ” Team Learning Studio-Type Room นำเสนอต่อเพื่อนร่วมชั้น และ.... ครู/อาจารย์ เป็น โค้ช facilitator ชวนกันทำ reflection เติมทฤษฎี (“ปริยัติ”) ด้วยการตีความ “ปฏิเวธ”

นศ. เรียนด้วย PBL ในภาคชีวิตจริง Team Learning โจทย์มาจาก real sector ทำงาน/โครงการกับ real sector ตั้งเป้าหมายร่วมกัน ลงมือดำเนินการร่วมกัน ลปรร. ระหว่างดำเนินการ – AAR Reflection (AAR ตีความด้วยทฤษฎี) เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ในมิติที่ลึกและเชื่อมโยง รายงานผลต่อที่ประชุม… / เขียนรายงานผลการวิจัย

งานวิจัยสายรับใช้สังคมไทย อาจารย์ ผู้ปฏิบัติ นศ. Grad. Undergrad Postdoc ใน Real Sectors โจทย์มาจากภาคชีวิตจริง

SSS การตีพิมพ์ผลงานวิจัยรับใช้สังคม รู้วิธีตั้งโจทย์ให้ “มีมิติวิชาการ” ออกแบบการเก็บข้อมูล วิเคราะห์ อย่างน่าเชื่อถือ สังเคราะห์ได้ความรู้ใหม่ รู้จักวารสารที่จะรับตีพิมพ์ ศิริพร แย้มนิล วีระพงศ์ ปรัชชญาสิทธิกุล สุทธวัฒน์ เบญจกุล

วิชาการสายรับใช้สังคม การเรียนรู้แบบ PBL เป็นเครื่องมือสร้างผลงานวิชาการรับใช้สังคม วิชาการสายนานาชาติ วิชาการสายรับใช้สังคม มีธรรมชาติ Basic, Theoretical, Researcher-initiated มีธรรมชาติ Applied, Translational, Need-directed ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการนานาชาติ ตีพิมพ์ใน PLoT เป็น eJournal, Open access วัดความเป็นเลิศด้วย Impact Factor, Citation วัดความเป็นเลิศด้วย ระบบที่เราสร้างขึ้นเอง ผ่าน PLoT และอื่นๆ

สรุป : วิชาการสายรับใช้สังคม เกิดขึ้นได้จากภารกิจ ทั้ง ๔ ประการ ของมหาวิทยาลัย จัดการให้เกิด synergy กันได้ การผลิตบัณฑิต ทั้งสร้างและใช้ วิชาการสายรับใช้สังคม ผ่านการเรียนรู้แบบ PBL อาจารย์ควรรวมตัวกัน ลปรร. จากประสบการณ์ เป็น PLC (Professional Learning Community)