ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕/๔

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย ดร.ชินภัทร ภูมิรัตน เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
Advertisements

สื่อความรู้เพื่อการศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
เขียนร้อยกรอง ไม่ยาก อย่างที่คิด บุญเสริม แก้วพรหม และ คณะ
บรรจบ โพธิ์ศรี (วท.สกพ.)
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2549
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
ชนิดของคำในภาษาไทย คำในภาษาไทย มี ๗ ชนิด ได้แก่ คำนาม คำสรรพนาม
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
อาหารและโภชนาการ โรงเรียนวัดสะแกงาม นายทรงสวัสดิ์ แสงมณี
เรื่องความรู้ทางภาษา
กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน
ธรรมชาติและลักษณะของภาษา
วิเคราะห์องค์ประกอบดนตรี
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ ตา
พระบรมราโชวาท ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ๓๖ ข้อ
ชื่อ เด็กหญิง รัตนา ศรีรัตน์ ชั้นม.3/2 เลขที่4
คำวิเศษณ์.
การอ่านจับใจความเรื่องสั้น
บทร้อยกรอง.
โดย ครูภาวัติ บุญกาญจน์
จัดทำโดย นายพงศธร มีสรรพวงศ์ เลขที 8 ชั้น ม.4/5
คำวิเศษณ์.
คำนาม.
สอนเสริมภาษาไทย เรื่องการใช้ภาษาเพื่อพัฒนาความคิด
แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่องการใช้ภาษาพัฒนาความคิด
การเขียนรายงานสถานการณ์ การเฝ้าระวังและเตือนภัย ทางสังคม
สันโดษ... เคล็ดลับของความสุข
อิทธิบาท ๔ บรรยายโดย อ.พงศ์สฎา เฉลิมกลิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม.
๒.๒.๒ ลักษณะและคำสอนสำคัญ ๑) ลักษณะสำคัญของพระพุทธศาสนา ปัญญา
ประโยคความเดียว ประโยคความเดียว คือ ประโยคที่มีใจความเพียงใจความเดียวหรือประโยคที่มีประธานและมีกริยาตัวเดียว.
กฎ ก.พ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการ
หมวด ๑ ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
การระดมสมอง Brainstroming.
พูดให้ไพเราะ (ธรรมะจากสวนโมกข์พลาราม)
กรรมคืออะไร ?, มีจริงหรือไม่ ?
๙.พยัญชนะท้ายพยางค์ แม่ เกย
คือพยางค์ที่ไม่มีตัวสะกด
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย โรงเรียนชุมชนศิลาเพชร สพท.น่าน เขต ๒
อ่านไม่ออก เขียนไม่ได้ แก้ไขอย่างไรดี
การเรียบเรียงคำ.
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์
จัดทำโดย. ๑. ด. ช. ภวัต ผจงเกียรติคุณ ชั้นป. ๕/๘. เลขที่ ๒๑. ๒. ด. ช
วัตถุประสงค์ ของการเสวนา รร เล็ก ๑. เพื่อรับนโยบาย จาก ผอ. เขต ๒
องค์ประกอบที่ ๑ การจัดทำป้ายชื่อพรรณไม้
ความรู้เกี่ยวกับตัวเรา
สรุป แนวคิด “ การเรียนรู้ ” (Learning) (Additional A1) Key word ที่สำคัญที่สุดของ เรื่อง “ คุณภาพ การศึกษา ” สรุปโดย นายไพโรจน์ พิทักษ์ทวยหาญ ศึกษานิเทศก์
แบบฝึกเพื่อพัฒนาทักษะการคิดเลขเร็ว เรื่อง ทบทวนการคูณ และการหาร
การเขียน.
คำสรรพนาม จัดทำโดย ด.ช.ธนวัฒน์ เตชะนิรัติศัย เลขที่ 30
พระเวสสันดรชาดก.
ศาสนาพุทธ เรื่อง ฆราวาสธรรม ๔ จัดทำโดย
การอ่านเชิงวิเคราะห์
อาหารไทยของเรามีมากมายหลากหลาย บางชนิดวิธีทำนั้น ยากลำบาก และซับซ้อนละเอียดอ่อนมาก ดังนั้นปัจจุบันจึง ไม่ค่อยมีผู้ที่จะทำขึ้นมาให้เห็นกัน สักเท่าไร อย่าว่าถึงจะได้
บทสนทนา การเดินเรื่อง มุมมองของกวี
๑.นางสาววิมุตตรีศักดิ์สกุลไกร เลขที่ ๘ ๒.นางสาวกชรัตน์นันทเสน เลขที่ ๑๕ ๓.นางสาวสุวภัทรธูปหอม เลขที่ ๑๗ ๔.นางสาวชญานิศวิจารณ์ เลขที่ ๒๐ ๕.นายภูมิภัทรกลิ่นหอม.
ผู้ตรวจการลูกเสือประจำสำนักงานลูกเสือแห่งชาติ
คุณค่าวรรณคดีด้านวรรณศิลป์
คุณค่าวรรณคดีด้านวรรณศิลป์
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์วรรณคดี
ตวงรัตน์ นิ่มแสง L.T. ผู้ตรวจการลูกเสือประจำสำนักงานลูกเสือแห่งชาติ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕/๔
หน่วยที่ ๑๐ การเขียนบทร้อยกรองในงานอาชีพ
แผนการจัดการเรียนรู้
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
ความสำคัญ และ คุณค่า ของวรรณกรรม.
การเขียนรายงาน.
หัวข้อการเรียน สัปดาห์ที่ ๔ ENL 3701
สื่อการเรียนรู้ เรื่องเครื่องหมายวรรคตอน
แบบฝึกเพื่อพัฒนาทักษะการคิดเลขเร็ว เรื่อง ทบทวนการคูณ และการหาร
แบบฝึกเพื่อพัฒนาทักษะการคิดเลขเร็ว เรื่อง ทบทวนการคูณ และการหาร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕/๔ ผู้จัดทำ นางสาววิมุตตรี ศักดิ์สกุลไกร เลขที่ ๘ นางสาวกชรัตน์ นันทเสน เลขที่ ๑๕ นางสาวสุวภัทร ธูปหอม เลขที่ ๑๗ นางสาวชญานิศ วิจารณ์ เลขที่ ๒๐ นายภูมิภัทร กลิ่นหอม เลขที่ ๒๑ นางสาวพัณณิตา ประโมจนีย์ เลขที่ ๒๒ นางสาวเกณิกา ยุ้งเกี้ยว เลขที่ ๓๓ นายมนตรี ศรีธรรมยศ เลขที่ ๓๖ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕/๔

การเรียบเรียงถ้อยคํา

การเรียบเรียงถ้อยคํา การเรียบเรียงคำ คือการจัดวางคำที่เลือกสรรแล้วให้มาเรียงร้อยกันอย่างต่อเนื่องตามจังหวะ ให้เกิดความไพเราะ ตามโครงสร้างภาษา หรือตามฉันทลักษณ์ ซึ่งมีหลายวิธี

๑. เรียงถ้อยคําที่สําคัญไว้ท้ายสุด จะทําให้ประโยคกระชับหนักแน่น เกิดความคิดที่ลึกซึ้ง เช่น - แม้ฉันจน แต่ ฉันก็ไม่เคยขอใครกิน - ผู้มีปัญญา แม้ประสบความทุกข์ยากสักเพียงไหน ก็หาอับจนไม่ ท่านจงสําคัญความนี้ให้จงดีเถิด

๒. เรียงคําวลีหรือประโยค ให้มีความสําคัญเท่า ๆ กัน เคียงขนานกันไป เช่น เรียงคําวลีหรือประโยค ให้มีความสําคัญเท่า ๆ กัน เคียงขนานกันไป เช่น - ฟ้าสีครามสดใส พรรณพฤกษ์เขียวขจี ลมโชยมารวยริน น้ำในทะเลสาบเป็นระลอกพลิว เป็นธรรมชาติที่งดงามยิ่งนัก

๓. จัดลำดับความคิดหรือถ้อยคำจากสิ่งสำคัญจากน้อยไปมาก จนถึงสิ่งสำคัญสูงสุดอันเป็นจุดสุดขั้น สิบปากว่าไม่เท่าตาเห็น สิบตาเห็นไม่เท่ามือคลํา สิบมือคลําไม่เท่าชํานาญ -ความยากจนทําให้อดทน ความอดทนทําให้เข้มแข็ง ความเข้มแข็งทําให้อุตสาหะ ความอุตสาหะทําให้ประสบความสําเร็จ

๔. ๕. การเรียงถ้อยคําให้มีเสียงและจังหวะดจเสียงดนตรี เช่น การเรียงถ้อยคําให้มีเสียงและจังหวะดจเสียงดนตรี เช่น - สรรแต่หาญสารตัวเหี้ยม เทียมช้างมารทานช้างหมื่น ฝืนถมศึกฝึกทนศร ร่อนงาส่ายร่ายเงยเศียร..... ๕. เรียงประโยคให้มีความเข้มข้นไปตามลําดับ แต่คลายความเข้มข้นในช่วงหรือประโยคสุดท้ายอย่างฉับพลัน ในการเจรจาต่อลองกันอย่างหนักหน่วงยาวนานครั้งหนึ่ง ทั้งสองฝ่ายต่างใช้เหตุผลโต้แย้งกันอย่างถึงพริกถึงขิง แล้วในทันใดนั้นใครคนหนึ่งก็ชวนให้ร้องเพลงสามัคคีชุมนม

๖. เรียงถ้อยคําให้เป็นประโยคคําถามเชิงวาทศิลป์ เช่น เรียงถ้อยคําให้เป็นประโยคคําถามเชิงวาทศิลป์ เช่น   ถึงไม่เลียงบุษบาเห็นว่าชั่ว แต่เขารู้อยู่ว่าตัวนั้นเป็นพี่ อันองค์ท้าวดาหาธิบดี นั้นมิใช่อาหรือว่าไร อันของสูงแม้ปองต้องจิต ถ้าไม่คิดปีนป่ายจะได้หรือ

๗. เรียงถ้อยคําให้เกิดความรู้สึกนึกเห็นภาพที่เห็นมีหลายลักษณะ เช่น ภาพเคลื่อนไหว ภาพชุลมุนวุ่นวาย อุรารานร้าวแยก ยลสยบ เอนพระองค์ลงทบ ท่าวดิ้น เหนือคอคชซอนซบ สังเวช วายชีวาตม์สุดสิ้น สู่ฟ้าเสวยสวรรค์

๘. การเรียงถ้อยคํา โดยวางคําที่ต่างไปจากหลักไวยากรณ์ โดย - วางคําขยายไว้หน้าคําหลัก เช่น อาหารเลิศรส มรดกล้ำค่า -เรียงคําให้ได้ดุลของเสียงและความหมาย จะทําให้เกิดความงาม เช่น “นําพึ่งเรือ เสือพึ่งป่า” แต่ละวรรคจะมีจํานวนคําเท่า ๆ กัน - เรียงคําโดยใช้คําใดคําหนึ่งเป็นหลัก เช่น “ ยิงว่ายิงยุ ” “ ยิงพิศยิงเพลิน ” - การเว้นวรรค ถ้าเว้นวรรคผิด ความหมายก็ผิดเพียน หรืออาจสื่อความหมาย ไม่ได้ เช่น “เนื้อหมาฉันชอบกิน” เป็น “เนื้อ หมาฉันชอบกิน” กับ “เนื้อหมา ฉันชอบกิน ” จะคนละความหมาย

ลาไปก่อนนะ ^^