ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕/๔ ผู้จัดทำ นางสาววิมุตตรี ศักดิ์สกุลไกร เลขที่ ๘ นางสาวกชรัตน์ นันทเสน เลขที่ ๑๕ นางสาวสุวภัทร ธูปหอม เลขที่ ๑๗ นางสาวชญานิศ วิจารณ์ เลขที่ ๒๐ นายภูมิภัทร กลิ่นหอม เลขที่ ๒๑ นางสาวพัณณิตา ประโมจนีย์ เลขที่ ๒๒ นางสาวเกณิกา ยุ้งเกี้ยว เลขที่ ๓๓ นายมนตรี ศรีธรรมยศ เลขที่ ๓๖ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕/๔
การเรียบเรียงถ้อยคํา
การเรียบเรียงถ้อยคํา การเรียบเรียงคำ คือการจัดวางคำที่เลือกสรรแล้วให้มาเรียงร้อยกันอย่างต่อเนื่องตามจังหวะ ให้เกิดความไพเราะ ตามโครงสร้างภาษา หรือตามฉันทลักษณ์ ซึ่งมีหลายวิธี
๑. เรียงถ้อยคําที่สําคัญไว้ท้ายสุด จะทําให้ประโยคกระชับหนักแน่น เกิดความคิดที่ลึกซึ้ง เช่น - แม้ฉันจน แต่ ฉันก็ไม่เคยขอใครกิน - ผู้มีปัญญา แม้ประสบความทุกข์ยากสักเพียงไหน ก็หาอับจนไม่ ท่านจงสําคัญความนี้ให้จงดีเถิด
๒. เรียงคําวลีหรือประโยค ให้มีความสําคัญเท่า ๆ กัน เคียงขนานกันไป เช่น เรียงคําวลีหรือประโยค ให้มีความสําคัญเท่า ๆ กัน เคียงขนานกันไป เช่น - ฟ้าสีครามสดใส พรรณพฤกษ์เขียวขจี ลมโชยมารวยริน น้ำในทะเลสาบเป็นระลอกพลิว เป็นธรรมชาติที่งดงามยิ่งนัก
๓. จัดลำดับความคิดหรือถ้อยคำจากสิ่งสำคัญจากน้อยไปมาก จนถึงสิ่งสำคัญสูงสุดอันเป็นจุดสุดขั้น สิบปากว่าไม่เท่าตาเห็น สิบตาเห็นไม่เท่ามือคลํา สิบมือคลําไม่เท่าชํานาญ -ความยากจนทําให้อดทน ความอดทนทําให้เข้มแข็ง ความเข้มแข็งทําให้อุตสาหะ ความอุตสาหะทําให้ประสบความสําเร็จ
๔. ๕. การเรียงถ้อยคําให้มีเสียงและจังหวะดจเสียงดนตรี เช่น การเรียงถ้อยคําให้มีเสียงและจังหวะดจเสียงดนตรี เช่น - สรรแต่หาญสารตัวเหี้ยม เทียมช้างมารทานช้างหมื่น ฝืนถมศึกฝึกทนศร ร่อนงาส่ายร่ายเงยเศียร..... ๕. เรียงประโยคให้มีความเข้มข้นไปตามลําดับ แต่คลายความเข้มข้นในช่วงหรือประโยคสุดท้ายอย่างฉับพลัน ในการเจรจาต่อลองกันอย่างหนักหน่วงยาวนานครั้งหนึ่ง ทั้งสองฝ่ายต่างใช้เหตุผลโต้แย้งกันอย่างถึงพริกถึงขิง แล้วในทันใดนั้นใครคนหนึ่งก็ชวนให้ร้องเพลงสามัคคีชุมนม
๖. เรียงถ้อยคําให้เป็นประโยคคําถามเชิงวาทศิลป์ เช่น เรียงถ้อยคําให้เป็นประโยคคําถามเชิงวาทศิลป์ เช่น ถึงไม่เลียงบุษบาเห็นว่าชั่ว แต่เขารู้อยู่ว่าตัวนั้นเป็นพี่ อันองค์ท้าวดาหาธิบดี นั้นมิใช่อาหรือว่าไร อันของสูงแม้ปองต้องจิต ถ้าไม่คิดปีนป่ายจะได้หรือ
๗. เรียงถ้อยคําให้เกิดความรู้สึกนึกเห็นภาพที่เห็นมีหลายลักษณะ เช่น ภาพเคลื่อนไหว ภาพชุลมุนวุ่นวาย อุรารานร้าวแยก ยลสยบ เอนพระองค์ลงทบ ท่าวดิ้น เหนือคอคชซอนซบ สังเวช วายชีวาตม์สุดสิ้น สู่ฟ้าเสวยสวรรค์
๘. การเรียงถ้อยคํา โดยวางคําที่ต่างไปจากหลักไวยากรณ์ โดย - วางคําขยายไว้หน้าคําหลัก เช่น อาหารเลิศรส มรดกล้ำค่า -เรียงคําให้ได้ดุลของเสียงและความหมาย จะทําให้เกิดความงาม เช่น “นําพึ่งเรือ เสือพึ่งป่า” แต่ละวรรคจะมีจํานวนคําเท่า ๆ กัน - เรียงคําโดยใช้คําใดคําหนึ่งเป็นหลัก เช่น “ ยิงว่ายิงยุ ” “ ยิงพิศยิงเพลิน ” - การเว้นวรรค ถ้าเว้นวรรคผิด ความหมายก็ผิดเพียน หรืออาจสื่อความหมาย ไม่ได้ เช่น “เนื้อหมาฉันชอบกิน” เป็น “เนื้อ หมาฉันชอบกิน” กับ “เนื้อหมา ฉันชอบกิน ” จะคนละความหมาย
ลาไปก่อนนะ ^^