การวิเคราะห์ DNA และการศึกษาจีโนม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชีววิทยา (Biology) มัธยมศึกษาตอนต้น.
Advertisements

นางชัญญานุช สุวรรณ์ทา
รายงาน ความหลากหลายของพืช.
อาหารเสริมพืช สูตรนาโน
ประโยชน์ของ เครื่องโปรเจคเตอร์
กลไกการวิวัฒนาการ.
เซลล์และกระบวนการดำรงชีวิตของพืช
พันธุกรรมและความหลากหลายทางชีวภาพ
ของส่วนประกอบของเซลล์
ชีวเคมี I (Biochemistry I)
New IT Update เรื่องแบตเตอรี่นาโนบางกว่าเส้นผม
บทที่ 1 เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา
โครโมโซม.
กรดนิวคลีอิก (Nucleic acid)
องค์ประกอบและประโยชน์ของมัลติมิเดีย
เครือข่ายอินเตอร์เน็ต
ขอบเขตของเทคโนโลยีสารสนเทศ
การค้นพบสารพันธุกรรม. ในปี พ. ศ
แนวข้อสอบ - เมนเดลเป็นนักพันธุศาสตร์ที่ทำการศึกษาเกี่ยวกับเรื่อง ต้นถั่วลันเตา - ลักษณะพันธุกรรมที่ถ่ายทอดไปสู่รุ่นลูกเรียกว่า ลักษณะเด่น - ลักษณะพันธุกรรมที่ถ่ายทอดไปสู่รุ่นหลาน.
การปรับปรุงพันธุ์พืชเพื่อต้านทานโรคและแมลง

Chromosome Q : ยีนกับโครโมโซมมีความสัมพันธ์กันอย่างไร
ชีววิทยา ม.4 การเคลื่อนที่ของสารผ่านเซลล์
เทคโนโลยีชีวภาพ เสาวลักษ์ สารรัมย์.
วิกฤตและโอกาสงานวิจัยข้าวไทย รศ. ดร
พันธุกรรมและวิวัฒนาการ
7.Cellular Reproduction
ความก้าวหน้าและผลของเทคโนโลยีชีวภาพ
DNA สำคัญอย่างไร.
รายชื่อสมาชิก กลุ่ม1 1.นายวิสุทธิ์ ศิลารัตน์ ม.6/6 เลขที่ 5ก
การวิเคราะห์ DNA.
ความปลอดภัยของเทคโนโลยีทางDNAและมุมมองทางสังคมและจริยธรรม
วิวัฒนาการ เต่าทะเล.
ทบทวนทฤษฎีหลักสูตร ดร.อมรา เขียวรักษา.
Coagulation and Flocculation
Assignements 4 ICT in KM (KM703) Knowledge Management Program
ความหลากหลายทางชีวภาพ
พืชแต่งพันธุ์ต้านทานแมลง
ทบทวน เมนเดล ยีนและโครโมโซม
การนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาสนับสนุนการทำงาน
กิจกรรมเสริมสร้างทักษะชีวิต
ครูยุพวรรณ ตรีรัตน์วิชชา
สรุประบบเทคโนโลยี สมาชิกกลุ่ม 1.น.ส.มยุรี ริยะอุด เลขที่ 1 ม.4.10
กล้องโทรทรรศน์.
หน่วยส่งออก หน่วยส่งออก คือ ผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลของคอมพิวเตอร์ ซึ่งอาจจะอยู่ในรูปของ อักขระ ข้อความ รูปภาพ เสียง หรือภาพเคลื่อนไหว ซึ่งคอมพิวเตอร์จะแสดงผลลัพธ์ผ่านอุปกรณ์ของหน่วย.
ระบบเทคโนโลยี.
กลุ่มgirls’generation
นางสาว ชูขวัญ ไพรจิตร เลขที่ 28 นางสาว กัญญาภัค แก้วนวน เลขที่ 30
การนำเสนอ เรื่องวัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย.
เรื่อง การสังเคราะห์แสง
ผู้วิจัย นางสาวพิลาวรรณ พิริยะโภคัย
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย เด็กชาย คณิศร อ้อยกลาง เลขที่ 36 ม.2/5 เสนอ อ.สายฝน เอกกันทา โรงเรียนจักรคำคณาทร จ.ลำพูน.
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
จัดทำโดย ด. ช. ฤทธิชัย แจ้งสว่าง ม 1/ 2 เลขที่ 11 ด. ช. ธนะพัฒน์ ทาอูฐ ม.1/2 เลขที่ 5 ด. ช. ภราดร หนูสิทธิ์ เลขที่ 8 click.
Facies analysis.
วิชานิวแมติกส์และไฮดรอลิกส์ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ
การเจริญเติบโตของพืช จัดทำโดย เด็กชาย มณศักดิ์ จันทร์เรือง ชั้น ม
ชิ้นงานที่1 ชื่อ นางสาวจรรยา พุฒเจริญ
การใช้ Green ICT ในองค์กร แบบพอเพียง
โดย ผศ.ดร.วุฒิไกร บุญคุ้ม ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์
กลุ่ม คาวาอี้ ~~ จัดทำโดย ชั้น ม.4.11 นางสาว กรรณิการ์ ใจวัง เลขที่ 7
พันธุศาสตร์โมเลกุล การปรับปรุงพันธุ์ ลักษณะตามต้องการ
ยีนและโครโมโซม ครูจุมพล คำรอต
Transcription (การถอดรหัส)
โครงสร้างของ DNA. ปี พ. ศ มัวริส เอช เอฟ วิลคินส์ (Maurice H. F
พืชแต่งพันธุ์ต้านทานสารกำจัดวัชพืช Herbicide Tolerant Plant
แบบ Star จะเป็นลักษณะของการต่อ เครือข่ายที่ Work station แต่ละตัวต่อรวมเข้าสู่ ศูนย์กลางสวิตซ์ เพื่อสลับตำแหน่งของเส้นทาง ของข้อมูลใด ๆ ในระบบ ดังนั้นใน.
บทที่ 17 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง DNA
การวิเคราะห์ DNA และการศึกษาจีโนม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การวิเคราะห์ DNA และการศึกษาจีโนม

สมาชิก 1.นายนวนนท์ พยัคฆ์จำเริญ ชั้น ม.5/1 เลขที่ 6ก 2.นางสาวสุพิชญา โรจนะหัสดิน ชั้น ม.5/1 เลขที่ 12ก 3.นางสาวมนัสนันท์ สกุลวิไลเลิศ ชั้น ม.5/1 เลขที่ 9ข

การวิเคราะห์ DNA ในการวิเคราะห์ DNA (DNA analysis) นั้นจะมีการแยกDNA ขนาดต่างๆ ออกจากกันโดยอาศัยเทคนิคที่เรียกว่า “อิเล็กโทรโฟริซิส (electrophoresis)” โดยให้ DNA ที่ต้องการแยก (DNA ที่ขนาดต่างกัน) ออกจากกันวิ่งผ่านตัวกลางที่เป็นแผ่นวุ้น (ตัวกลางที่เป็นแผ่นวุ้น เช่น อะกาโรสเจล (agarose gel) หรือ พอลิอะคริลาไมด์(polyacrylamide gel)ที่อยู่ภายในสนามไฟฟ้า ตามปกติ DNA จะมีประจุเป็นลบ

(เทคนิคเจลอิเล็กโทรโฟริซิส)

ดังนั้น DNA จะเคลื่อนเข้าหาขั้วบวกของสนามไฟฟ้า และ DNA ที่มีขนาดโมเลกุลใหญ่จะเคลื่อนที่ได้ช้ากว่า DNA ที่มีโมเลกุลขนาดเล็ก ทำให้ DNA ที่มีโมเลกุลขนาดเล็ก เคลื่อนที่ได้มากและอยู่ใกล้ขั้วบวก ส่วน DNA ที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่จะเคลื่อนที่ไปได้น้อย จึงอยู่ใกล้ๆกับจุดเริ่มต้น ทำให้แยก DNA ขนาดต่างๆ กันออกจากกันได้ สำหรับการหาลำดับนิวคลีโอไทด์ ต้องอาศัยเครื่องมือที่เรียกว่า ออโตเมตด์ ซีเควนซ์ ซึ่งยังอาศัยเทคนิคและวิธีการของเจลอิเล็กโทรโฟริซิสอยู่และมีการเพิ่มและพัฒนาเทคนิคทางซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ ทำให้สามารถอ่านผลออกมาในรูปของลำดับเบสได้

เครื่องมือที่เรียกว่า ออโตเมตด์ ซีเควนซ์ สารละลายที่มี DNA จะไม่มีสีจึงต้องอาศัยการย้อมสีเพื่อตรวจสอบ DNA ในเจลอิเล็กโทรโฟริซิส ซึ่งนิยมใช้ อิธิเดียมโบนไมด์ (ethidiumbromide) เป็นตัวย้อมโดยอาศัยการจับกับ DNA และเรืองแสงฟลูออเรสเซนต์เป็นสีชมพูได้เมื่อสัมผัสกับรังสีอัลตราไวโอเลต

การศึกษา จีโนม นักวิจัยพบว่า จีโนมของสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกัน มีความแตกต่างกัน ซึ่งสามารถตรวจสอบความแตกต่างนั้นโดยอาศัยการตัดด้วยเอนไซม์ตัดจำเพาะแล้วนำชิ้น DNA ไปแยกขนาดโดยวิธีการเจลอิเล็กโทรโฟริซิส และตรวจสอบโดยวิธี จะได้รูปแบบของแถบ DNA ที่แตกต่างกัน ดังนั้นรูปแบบของแถบ DNA ที่ปรากฏขึ้นหลังจากตัดด้วยเอนไซม์ตัดจำเพาะจะสามารถเชื่อมโยงถึงจีโนม ของสิ่งมีชีวิตนั้น  เรียกความแตกต่างของรูปแบบของแถบ DNA ที่เกิดจากการตัดของเอนไซม์ตัดจำเพาะเหล่านี้ว่า เรสทริกชัน แฟรกเมนท์ เลจท์ พอลิมอร์ฟิซึม (restriction fragment length polymorphism:RELP) ซึ่งสามารถใช้เป็นเครื่องหมายทางพันุกรรม (genetic marker)ได้

(จีโนมของมนุษย์)

ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2533 ได้มีการริเริ่มโครงการจีโนมมนุษย์ (Human Genome Project) เพื่อที่จะศึกษาลำดับนิวคลีโอไทด์ของมนุษย์ทั้งจีโนมโดยการหาลำดับ นิวคลีโอไทด์ของออโทโซมจำนวน 22 โครโมโซม และโครโมโซม X และโครโมโซม Y ซึ่งเป็นโครงการนานาชาติ ในการดำเนินโครงการดังกล่าวมีการศึกษาแผนที่ยีน และแผนที่เครื่องหมายทางพันธุกรรมควบคู่ไปกับการหาลำดับนิวคลีโอไทด์ ซึ่งนำมาสู่การพัฒนาในเชิงเทคโนโลยี และการประยุกต์ใช้อย่างมากมายในปัจจุบัน

โครงการศึกษาจีโนมนั้นไม่ได้ทำเฉพาะมนุษย์เท่านั้น แต่ยังศึกษาจีโนมของสิ่งมีชีวิตชนิดอื่นๆ ที่มีความสำคัญในการศึกษาในเชิงชีววิทยาด้วย เช่น จีโนมของ E.coli  จีโนมของยีสต์ (Saccharomyces cerevisiae) จีโนมของแมลงหวี่ (Drosophilia melanogaster) และหนู (Mus musculus) สำหรับการศึกษาในพืชนั้นนักวิทยาศาสตร์ได้ร่วมกันศึกษาจีโนมของพืชใบเลี้ยงคู่ในวงค์ผักกาด (Arabidopsis thaliana L.) ซึ่งถือว่าเป็นพืชต้นแบบในการศึกษาชีววิทยาระดับโมเลกุลของพืช เนื่องจากมีขนาดจีโนมเล็ก ลำดับนิวคลีโอไทด์ทั้งหมดของจีโนม Arabidopsis thaliana ได้รับการประกาศอย่างเป็นทางการในปี 2542 

ส่วนข้าว (Oryza sativa L ข้าวเป็นโครงการร่วมมือนานาชาติที่มีประเทศไทยเข้าร่วมในการศึกษาด้วย โดย ทำการศึกษาลำดับนิวคลีโอไทด์ของโครโมโซมแท่งที่ 9 ปัจจุบันการศึกษาจีโนมของ สิ่งมีชีวิตที่สำคัญดำเนินไปมากกว่าร้อยละ99 แล้ว ทำให้นักวิทยาศาสตร์ทราบคำตอบ เกี่ยวกับโครงสร้างจีโนม การควบคุมการแสงออกของยีนต่างๆ ที่ส่งผลถึงการ เจริญเติบโตและพัฒนา ตลอดจนวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต

บรรณานุกรม http://www.ceted.org/webbio/chapter08/index_l08_p15.php http://www.thaigoodview.com/node/46508

THANK YOU