การให้ยาระงับความรู้สึกสำหรับหัตถการทางออร์โธปิดิกส์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
PINKLAO USES FOR HANGING THE ARM & LEG 2010
Advertisements

Anaphylaxis สมพงษ์ ชลคีรี พบ..
Adult Basic Life Support
ให้พบแพทย์ทันที กลุ่มเสี่ยงต่อโรครุนแรง ได้แก่เด็กอายุต่ำกว่า 2 ปี ผู้สูงอายุมากกว่า 65 ปี หญิงมีครรภ์ ผู้ป่วยที่มีโรคประจำตัวเรื้อรัง เช่นโรคปอด หอบหืด.
กายภาพบำบัด ในผู้ป่วยภาวะวิกฤต รศ.สมชาย รัตนทองคำ
NAVY PILLOW 2012 (หมอนน้ำ ).
กบในกะลา 2011.
นาวาโทสมบูรณ์ เจิมสุจริต E.T. Nurse
การเลิกสูบบุหรี่ด้วยตัวเอง
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ (Exercise for the Elderly)
การช่วยฟื้นคืนชีพเบื้องต้นในเด็ก (Basic CPR)
Antinematodal Drugs (ยากำจัดพยาธิตัวกลม) 1. Piperazine
เรื่อง การปฐมพยาบาลเพื่อช่วยเหลือผู้อื่น
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ (Exercise for the Elderly)
ประเมินสภาพของผู้บาดเจ็บ
การเตรียมผู้ป่วยก่อนผ่าตัดทางวิสัญญี (Preoperative medication)
มีหมายเลข IP Address มากกว่าเดิมมาก ทำให้เพียงพอต่อความ ต้องการของผู้ใช้ เครือข่ายมีความน่าเชื่อถือมากขึ้นกว่าเดิม เพราะเป็นการใช้งาน IP จริงทั้งหมด.
แนวทางการใช้ยาปฎิชีวนะ
ยาความเสี่ยงสูง ฝ่ายเภสัชกรรมชุมชน โรงพยาบาลสหัสขันธ์ 5 มกราคม 2554
คำแนะนำการปฏิบัติตัวสำหรับมารดาก่อนและหลังผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
แผนการสอนเรื่องปอดอักเสบ
คำแนะนำผู้ป่วย โรคนิ่วในถุงน้ำดี หอผู้ป่วยพิเศษ 2.
โรคเอสแอลอี.
การขูดมดลูก การขูดมดลูก หมายถึง การใส่อุปกรณ์เครื่องมือแพทย์ผ่านทางช่องคลอด และ ปากมดลูกเข้าไปในโพรงมดลูก เพื่อเก็บชิ้นเนื้อส่งตรวจ.
การผ่าตัดก้อนถุงน้ำที่มือ
หอผู้ป่วยออร์โธปิดิกส์เด็ก
การปฏิบัติตัวผู้ป่วยหลังผ่าตัดเปลี่ยนไต เมื่อกลับไปอยู่บ้าน
ยากระตุ้นระบบประสาทส่วนกลาง
Nursery ก็ลดโลกร้อนได้
Myasthenia Gravis.
นศ.ภ. จันทร์นภัสสร์ ชะตาคำ
VDO conference dengue 1 July 2013.
แบบบันทึกประกอบการวินิจฉัยและการรักษา โรคท้องร่วงเฉียบพลัน
ขั้นตอนการจัดการสาธารณภัย
ระบบบริการดี ตรวจซีดีโฟร์ ครบตามมาตรฐาน
Principle of Prachinburi Triage Scale(PTS)
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
ชื่อโครงการ.
( Cardiopulmonary Resuscitation : CPR )
- กลุ่มโรคหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน Acute coronary syndrome (ACS)
โรคไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
“การชะลอภาวะไตวายเรื้อรัง”
การเป็นลมและช็อก.
เจ็บแน่นหน้าอก.
เรื่อง การดูแลผู้ป่วย MI
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
ระบบรับ-ส่งต่อผู้ป่วย
การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อไข้หวัดนก / ไข้หวัดใหญ่ในสถานพยาบาล
การช่วยเหลือผู้จมน้ำ
โรงพยาบาลเฉลิมพระเกียรติ
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ความคงตัวของยาฉีดหลังผสม / วิธีบริหารยา และสารละลายเจือจางที่เหมาะสม
การใช้ยาและอาการไม่พึงประสงค์ ในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
CQI งานผู้ป่วยในหญิง เรื่อง
ศูนย์ประสานงานการรับส่งต่อผู้ป่วย
Wound healing with Whirlpool Whirlpool
การเตรียมผู้ป่วยสูงอายุก่อนและการดูแลระหว่างการรักษาด้วยไฟฟ้า
คนไทยไร้พุง งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
ขอบเขตความรับผิดชอบของพยาบาลในการบริหารยา
นิ่วในถุงน้ำดี งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
ไดร์เป่าผม เป่าขอบก้นสองข้างให้ทั่ว 1 นาที
แนวทางการส่งต่อผู้ป่วยโรคเบาหวานไปรับการรักษาที่
โรงพยาบาลวังม่วงสัทธรรม
กิจกรรมพัฒนาคุณภาพ นวัตกรรมหมวกนิรภัยให้แสงสว่าง
โรคเบาหวาน เป็นชื่อของกลุ่มอาการของโรค ที่ร่างกายไม่สามารถใช้น้ำตาลได้
การปฏิบัติตัวและการดูแลหลังได้รับบาดเจ็บ ที่ศีรษะระดับเล็กน้อย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การให้ยาระงับความรู้สึกสำหรับหัตถการทางออร์โธปิดิกส์ พญ. พัชรี ยิ้มรัตนบวร

Sedation and Analgesia การให้ยาเพื่อให้ผู้ป่วยทนต่อภาวะไม่สุขสบายหรืออาการปวดจากการทำหัตถการได้ หวังผลให้ผู้ป่วยลืม หรือไม่ปวด ไม่รับประกันผลการตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้นที่เจ็บปวดนั้นๆได้ Conscious sedation----- Deeper sedation ------General Anesthesia

ข้อควรระวัง การปรับยาทำได้ยากมาก ผู้ป่วยตอบสนองแตกต่างกัน ควรใช้การให้ยาทีละน้อย ต้องระวังระดับความรู้สึกตัวที่ลดลง ลด airway reflex ---- aspiration กดการหายใจ ------- apnea กดระบบหัวใจ ------Hypotension ปฎิกิริยาต่อยาอื่น ผลข้างเคียงของยา อาจเกิดเหตุการณืไม่พึงประสงค์ได้เสมอ ระวังในคนแก่และเด็ก

การเตรียมผู้ป่วย บุคลากร เครื่องมือ เซ็น ใบยินยอมสำหรับให้ยา ประวัติ โรคประจำตัว ประวัติ/ตรวจร่างกาย ประเมินอุบัติเหตุร่วม NPO time Lab เท่าทีจำเป็น บางครั้งไม่ต้องส่งตรวจ

บุคลากร บุคลากรที่มีทักษะเพียงพอ CPR, AIRWAY CARE, แทง iv,ให้ยาได้ ใช้เครื่องติดตามสัญญาณชีพ เช่น Oxygen Sat เป็น ถ้าต้องให้ยาเฉพาะ ใช้ เครื่องดมยาสลบ ต้องใช้บุคลากรทางวิสัญญี

การเตรียมผู้ป่วย บุคลากร เครื่องมือ Laryngoscope ET Suction Defibrillator Oxygen AMBU Bag ยาที่จำเป็นสำหรับCPR

อุปกรณ์ติดตามสัญญานชีพ monitor ติดตามระดับความรู้สึกตัวตลอดเวลา (ปลุกตื่น ทำตามสั่ง pupil) เครื่องวัดความดันโลหิต เครื่องวัดความเข้มออกซิเจนในเลือด ( Pulse Oxymeter) อาจมีเครื่อง EKG เครื่องวัดคาร์บอนไดออกไซด์ในลมหายใจออก สถานที่ เพียงพอสำหรับ _CPR แสงสว่างเพียงพอ เตียงควรปรับหัวต่ำได้

เทคนิคและยาที่ใช้ Local anesthesia ฉีดยาชาบริเวณแผล Hematoma block Nerve block : Digital NB, Ankle block, Wrist block

เทคนิคและยาที่ใช้ ยาที่ใช้ 1-2% Lidocaine. 0.25-0.50% Bupivacaine (Marcaine) Maximal dose. Lidocaine with ADR 7 mg/kg ( 1% 1ml = 10 mg) Lidocaine without ADR 5 mg/kg Bupivacaine. 3 mg/ kg. (( 0.25% 1 ml = 2.5 ml) ข้อดี ผู้ป่วยรู้สึกตัว ใช้ยาราคาถูก ปลอดภัย ข้อเสีย เจ็บขณะฉีดยามาก อาจไม่เพียงพอสำหรับบางหัตถการ ไม่เหมาะกับเด็ก

ยาแก้ปวดทุกตัวกดการหายใจได้ Intravenous route ยาแก้ปวด (Opioid groups ) ชื่อยา Dose ข้อควรระวัง Morphine 0.03-0.15 mg/kg histamine release อาจกระตุ้นasthmaได้ คลื่นไส้อาเจียน Pethidine 0.5-2.0 mg/kg กระตุ้นHR เร็วขึ้น Fentanyl 0.5- 1.5 µg/kg หมดฤทธิ์เร็ว ยาแก้ปวดทุกตัวกดการหายใจได้

ยาที่ออกฤทธิ์ให้หลับ ชื่อยา Dose ข้อควรระวัง Diazepam 0.04 – 0.2 mg/kg เจ็บขณะฉีดยา ออกฤทธิ์นาน6-12hr Midazolam (Dormicum) 0.01 – 0.1 mg/kg ความดันโลหิตต่ำ ลด vagal tone ได้ Propofol 1- 2.5 mg/kg กดหัวใจ ความดันต่ำได้ หยุดหายใจ Thiopental 3 – 6 mg/kg กดหัวใจ ความดันโลหิตต่ำได้ Ketamine 0.5-2 mg/kg กระตุ้น HR เร็ว BP สูงได้ ตื่น delirium ได้ Propofol Thiopental ketamine ต้องงดน้ำงดอาหาร อย่างน้อย 8 ชม

ผู้ป่วยชาย 69 ปี หกล้มมือยันพื้น 2 ชม. ก่อนมารพ ผู้ป่วยชาย 69 ปี หกล้มมือยันพื้น 2 ชม.ก่อนมารพ. PE: ปวดบวมที่ข้อมือซ้าย โรคประจำตัว ความดันโลหิตสูง ทาน Amlodipine ½ tab OD BP 160/90 ชีพจร 65 /min BW 50 kg

ปรึกษาแพทย์ออร์โธปิดิกส์ รพ บร แล้ว ให้ CR with SAC วิธีที่ 2 Sedation Diazepam 5-10 mg IV Morphine 1.5 – 7.5 mg IV วิธีที่3 Sedation Dormicum 1-5 mg Fentanyl 25-75 mcg วิธีที่ 1 LA Hematoma Block 2% Lidocaine without ADR 20 ml

ผู้ป่วย ชาย 50 ปี หกล้ม ปวดบวมไหล่ขวา 1 ชม ก่อนมารพ ประวัติไหล่หลุดเป็นๆหายๆมา 2 ปี ปฎิเสธโรคประจำตัว NPO 2 ชมก่อนมารพ

ปรึกษาแพทย์ออร์โธปิดิกส์ รพ บร แล้ว ให้ CR with sling วิธีที่2 Sedation Dormicum 1-5 mg Fentanyl 25-75 mcg วิธีที่ 1 Sedation Diazepam 5-10 mg IV Morphine 1.5 – 7.5 mg IV

ผู้ป่วยชาย 19 ปี อุบัติเหตุรถมอเตอร์ไซด์ บาดแผลที่นิ้วดังรูป ประวัติสลบไม่ชัดเจน NPO 2ชม GCS 15 Vital sign ปกติ

ปรึกษาแพทย์ออร์โธปิดิกส์ รพ บร แล้ว ให้ DB วิธีที่2 Sedation ไม่ควรใช้ เพราะต้องสังเกตุอาการทางสมอง วิธีที่ 1 LA Digital nerve block 2% Lidocaine without ADR 10- 15 ml