การประเมินสถานการณ์ยาเสพติด สถานการณ์ทั่วไป

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โทร. ๐-๔๕๗๙-๕๐๖๑ “ สุขภาพดีวิถีไทย สมุนไพร ได้มาตรฐาน บริการประทับใจ”
Advertisements

กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์
โอกาสและความท้าทาย ของศูนย์เด็กเล็ก และโรงเรียนอนุบาลปลอดโรคในอนาคต
การคัดเลือกพื้นที่เพื่อการพัฒนาสถานบริการสาธารณสุข ในชายแดนชนบท
สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ระยอง นายสมชัย ฉายศรีศิริ นายปรพล เจริญพงษ์ นายสมหมาย เอี่ยมมงคลสกุล
สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
พังงา นางสาวอัญชลี ตันวานิช สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
สำนักส่งเสริมและพิทักษ์ผู้ด้อยโอกาส (สทอ.)
ประวัติความเป็นมา บ้านสระแก้วก่อตั้งขึ้น เมื่อปี พ.ศ 2419 โดย พ่อใหญ่จารย์แก้ว เป็นผู้นำพาลูกหลานจากบ้านงัวบา ตำบลงัวบา อำเภอวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม.
การขัดเกลาทางสังคมซ้ำเพื่อสร้างพฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ของเยาวชนในศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชน ผู้วิจัย นภัสวรรณ บุญประเสริฐ หลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรดุษฎี
และองค์การบริหารส่วนจังหวัดกาญจนบุรีสาขาระดับอำเภอ 6 สาขา
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ของเทศบาลตำบลหนองไผ่ อ.เมือง จ.อุดรธานี
โครเมี่ยม (Cr).
อำเภอควบคุมยาสูบและเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์เข้มแข็ง ปี 2556
ประวัติ ส่วนตัว ชื่อ นางสาวสุภาวรรณ อินสวัสดิ์ อายุ ๒๘ ปี ที่อยู่ บ้านเลขที่ ๑๙ / ๕ หมู่ที่ ๑ ตำบลแสงอรุณ อำเภอทับสะแก จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์ การศึกษา.
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
1 จุดเน้นและแนวทางการสร้าง ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพ ติดในสถานศึกษา ปี 2557.
ชุมชนปลอดภัย.
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
แนวทาง การดำเนินงาน ป้องกันการจมน้ำ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
ผลร้ายจากยาเสพติด 1. ต้องการเสพยาเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ 2. เกิดความต้องการเสพยาอย่างรุนแรงตลอดเวลา 3. เมื่อไม่ได้เสพจะทำให้เกิดอาการ.
เทศบาลเมืองวังน้ำเย็น อำเภอวังน้ำเย็น จังหวัดสระแก้ว
เพลี้ยไฟมะม่วง ข่าวเตือนการระบาดศัตรูพืช Plant Protection Sakaeo
Design by Agri - Map สำนักงานชลประทานที่ ๘.
โครงการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากผู้สูงอายุ
เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ยินดีต้อนรับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน (พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์) และคณะ ในโอกาสตรวจเยี่ยมจังหวัดตาก วันที่ กรกฎาคม 2558.
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
กลุ่มยุทธศาสตร์ฯ ตัวชี้วัด ของปศุสัตว์อำเภอ รอบที่ ๑/๒๕๖๑ และ รอบที่ ๒/๒๕๖๑ จำนวน ๑๐ ตัวชี้วัด ๑.๑ร้อยละความสำเร็จในการปรับปรุงฐานข้อมูลเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กลุ่มเกษตรกร.
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
คำสำคัญ : ความชุกวัณโรค, ผู้ต้องขังในเรือนจำ
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
โรคใบด่างมันสำปะหลัง
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
คำชี้แจง เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ จังหวัดเชียงใหม่
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
งานสังคมครั้งที 1 เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน โดย น.ส.อธิชา ฤทธิ์เจริญ ม.4 MEP-A เลขที่ 21.
คุณต้องรู้ว่าคุณกำลังมีปัญหาอะไร?
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความรู้เกี่ยวกับยาเสพติดให้โทษ แผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด องค์การบริหารส่วนตำบลลิดล

การประเมินสถานการณ์ยาเสพติด สถานการณ์ทั่วไป การประเมินสถานการณ์ยาเสพติด สถานการณ์ทั่วไป ข้อมูลพื้นฐานของตำบล เขตรับผิดชอบองค์การบริหารส่วนตำบลลิดล มีประชากรส่วนใหญ่ อยู่นอกเขตเทศบาล หมู่บ้านกลุ่มใหญ่ อาศัยอยู่ใกล้กับสำนักงานองค์การบริหารส่วนตำบลท่าบ่อ ซึ่งมีที่ตั้งอยู่ที่ บ้านไทรทอง หมู่ที่ 14 ตำบล ท่าบ่อ ห่างจากที่ว่าการอำเภอท่าบ่อประมาณ 4 กิโลเมตร และห่างจังหวัดหนองคายประมาณ 45 กิโลเมตร ประกอบด้วย พื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลท่าบ่อ 85.75 ตารางกิโลเมตร (8,789 ไร่) พื้นที่หมู่บ้านในเขตปกครอง 5 หมู่บ้าน ประชากรทั้งหมด 3,460 คน จำนวนหลังคาเรือน 662 หลังคาเรือน ความหนาแน่น 40 คน/ตารางกิโลเมตร งบประมาณ (พ.ศ. 2551) 10,722,581 บาท แยกเป็นชาย 1,734 คน หญิง 1,726 คน

พื้นที่และการทำประโยชน์ พื้นที่การเกษตร 6,436 ไร่ พื้นที่สาธารณะ - ไร่ ทิศเหนือ จรดเขต อ. ท่าบ่อ, ต. น้ำโมง ทิศใต้ จรดเขต ต. บ้านดื่อ, อ. ท่าบ่อ ทิศตะวันออก จรดเขต เทศบาลต. โพนสา , อ.ท่าบ่อ ทิศตะวันตก จรดบ้านโคกคอน, ต. น้ำโมง อ.ท่าบ่อ พื้นที่และการทำประโยชน์ พื้นที่การเกษตร 6,436 ไร่ พื้นที่สาธารณะ - ไร่ พื้นที่ปศุสัตว์ - ไร่ พื้นที่ประมง - ไร่ อื่นๆ 2,353 ไร่ รวมพื้นที่ทั้งหมด 8,789 ไร่

จำนวนประชากรเพื่อการพัฒนาทั้งหมด รวม 5 หมู่บ้าน ดังนี้ จำนวนประชากรเพื่อการพัฒนาทั้งหมด รวม 5 หมู่บ้าน ดังนี้ หมู่ที่ 1 บ้านนาโพธิ์ ประชากรชาย 128 คน ประชากรหญิง 133 คน รวมประชากรทั้งสิ้น 261 คน หมู่ที่ 7 บ้านนาช้างน้ำ ประชากรชาย 459 คน ประชากรหญิง 416 คน รวมประชากรทั้งสิ้น 875 คน หมู่ที่ 10 บ้านเกษตรผล ประชากรชาย 633 คน ประชากรหญิง 650 คน รวมประชากรทั้งสิ้น 1,283 คน หมู่ที่ 11 บ้านสระแก้ว ประชากรชาย 108 คน ประชากรหญิง 102 คน รวมประชากรทั้งสิ้น 210 คน หมู่ที่ 14 บ้านไทรทอง ประชากรชาย 428 คน ประชากรหญิง 403 คน รวมประชากรทั้งสิ้น 831 คน

สภาพทางเศรษฐกิจ การประกอบอาชีพของประชาชน โดยสภาพทั่วไปแล้วประชากรในตำบลท่าบ่อ ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทางเกษตรกรรม โดยแบ่งการประกอบอาชีพเรียงตามลำดับจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ทำนาปี และ นาปลัง ทำสวนพุทรา สวนลำไย สวนมะม่วง ค้าขาย บ่อเลี้ยงปลา

หน่วยธุรกิจในเขต อบต. - ธนาคาร - แห่ง - โรงแรม – บังกะโล 2 แห่ง - ปั๊มน้ำมัน 2 แห่ง - โรงงานอุตสาหกรรม 1 แห่ง - โรงสี 2 แห่ง สภาพสังคม การศึกษา โรงเรียนประถมศึกษา 1 แห่ง โรงเรียนมัธยมศึกษา 1 แห่ง โรงเรียนอาชีวศึกษา - แห่ง โรงเรียน/สถาบันชั้นสูง - แห่ง

สถาบันและองค์กรทางศาสนา วัด/สำนักสงฆ์ 3 แห่ง การสาธารสุข โรงพยาบาลของรัฐ - แห่ง สถานีอนามัยประจำตำบล - แห่ง สถานพยาบาลเอกชน - แห่ง ร้านขายยาแผนปัจจุบัน - แห่ง อัตราการมีส้วมราดน้ำ 100 % ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ป้อมยามตำรวจ - แห่ง สถานีดับเพลิง - แห่ง ถังดับเพลิงจาก อบต. ท่าบ่อ 6 ถัง

การบริการพื้นฐาน การคมนาคม สภาพเส้นทางในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล สามารถติดต่อกันได้ทุกหมู่บ้าน ตำบล อำเภอ และจังหวัดใกล้เคียง โดยสภาพทั่วไปจะเป็นการคมนาคมทางบกทั้งหมด การโทรคมนาคม ที่ทำการไปรษณีย์โทรเลข - แห่ง สถานีโทรคมนาคมอื่นๆ - แห่ง

การไฟฟ้า มีไฟฟ้าครบทุกหมู่บ้านและประชากรส่วนมากมีไฟฟ้าใช้ แต่บางส่วนยังขาดแคลนแสงสว่างไฟฟ้าเข้าไปไม่ถึง แหล่งน้ำธรรมชาติ ลำน้ำ ลำห้วย - แห่ง บึง หนอง และอื่นๆ 2 แห่ง แหล่งน้ำที่สร้างขึ้น ฝาย - แห่ง บ่อน้ำตื้น - แห่ง บ่อน้ำโยก - แห่ง

การจัดตั้งมวลชน อสพป 1 รุ่น 80 คน ไทยอาสาป้องกันชาติ ไม่มี กองทุนเพื่อความมั่นคง ไม่มี กลุ่มอาชีพ 5 กลุ่ม อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน 90 คน

สถานการณ์ปัญหายาเสพติด วิเคราะห์สถานการณ์ปัญหายาเสพติดในพื้นที่ตำบลท่าบ่อ ได้แก่ - ปัญหาการผลิต การค้า การลำเลียงยาเสพติดในพื้นที่ ได้แก่ จำนวนผู้ผลิต ผู้ค้า ประเภทยาเสพติดที่มีการผลิต การค้า มีพื้นที่พักเก็บยาหรือไม่ มีการแพร่ระบาดในหมู่บ้านใด สถิติการจับกุมคดียาเสพติดในพื้นที่ โดยการรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลจาการเฝ้าระวังของศูนย์ปฏิบัติการต่อสู้เพื่อเอาชนะยาเสพติดขององค์การลบริหารส่วนตำบลท่าบ่อ - ปัญหาการแพร่ระบาดยาเสพติดในพื้นที่ ได้แก่ จำนวนผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติดที่แพร่ระบาดในพื้นที่ โดยการรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลจาการเฝ้าระวังของศูนย์ปฏิบัติการต่อสู้เพื่อเอาชนะยาเสพติดขององค์การลบริหารส่วนตำบลท่าบ่อ - ปัญหาของเยาวชนกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่มีหรือไม่ ได้แก่ เยาวชนในสถานศึกษา เยาวชนนอกสถานศึกษา เป็นต้น ว่ามีจำนวนเท่าใด มีพฤติกรมเสี่ยงต่อการใช้ยาเสพติดอย่างไร โดยการรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลจาการเฝ้าระวังของศูนย์ปฏิบัติการต่อสู้เพื่อเอาชนะยาเสพติดขององค์การลบริหารส่วนตำบลท่าบ่อ

1 ด้านการควบคุมตัวยาและผู้ค้ายาเสพติด ผลการดำเนินงาน รายงานผลการดำเนินงานในปีที่ผ่านมาของศูนย์ปฏิบัติการต่อสู้เพื่อเอาชนะยาเสพติดขององค์การลบริหารส่วนตำบลท่าบ่อ ประกอบด้วย 1 ด้านการควบคุมตัวยาและผู้ค้ายาเสพติด - สนับสนุนงบประมาณให้แก่หน่วยงานราชการที่สร้างความเข็มแข็งให้แก่ชุมชนในพื้นที่ในด้านการป้องกันปราบปรามยาเสพติดในพื้นที่ การเฝ้าระวังการลักลอบลำเลียงยาเสพติดเข้ามาในพื้นที่ การจัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้ด้านยาเสพติดแก่ชุมชน 2 ด้านการป้องกันกลุ่มผู้มีโอกาสเข้าไปใช้ยาเสพติด - สนับสนุนอุปกรณ์กีฬาต่างๆ ให้แก่หมู่บ้านในเขตตำบลท่าบ่อ จำนวน 5 หมู่บ้าน เพื่อมอบให้กลุ่มเยาวชนในหมู่บ้านได้ใช้ในการออกกำลังกาย และเพื่อเป็นการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ห่างไกลยาเสพติด - สนับสนุนการจัดกิจกรรมของเยาวชนในด้านการส่งเสริมการกีฬา ในการเข้าร่วมการแข่งขันกีฬาประเภทต่างๆ - การจัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้ด้านยาเสพติดแก่ชุมชนการจัดการเข้าค่ายเยาวชนไทยต้านภัยยาเสพติด

3 ด้านการบริการจัดการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น - เพื่อให้ตำบลท่าบ่อเป็นตำบลปลอดยาเสพติด องค์การบริหารส่วนตำบลท่าบ่อได้ให้ความสำคัญในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในพื้นที่ ได้จัดตั้งงบประมาณที่ใช้ในการดำเนินการป้องกันและแก้ไขปัญหาเสพติด ให้แก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องที่ดำเนินการด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ตลอดจนการดำเนินงานของศูนย์ปฏิบัติการต่อสู้เพื่อเอาชนะยาเสพติดของตำบลในการกจัดกิจกรรมในตำบล

วัตถุประสงค์ เพื่อให้การดำเนินการป้องกันและแก้ไขปัญหาเสพติดของศูนย์ปฏิบัติการต่อสู้เพื่อเอาชนะยาเสพติดองค์การบริหารส่วนตำบลท่าบ่อสอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาล และเพื่อเป็นการบูรณาการการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดร่วมกับหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง

เป้าหมายรวม การดำเนินการป้องกันและแก้ไขปัญหาเสพติดของศูนย์ปฏิบัติการต่อสู้เพื่อเอาชนะยาเสพติดองค์การบริหารส่วนตำบลท่าบ่อ ได้ตั้งเป้าหมายในการดำเนินการ ดังนี้ เป้าหมายเชิงกลุ่มประชากร ได้แก่ 1. กลุ่มเด็ก/เยาวชน อายุไม่เกิน 25 ปี และประชาชน โดยสามารถแบ่งกลุ่มย่อย ได้อีก คือ กลุ่มในสถานศึกษา และนอกสถานศึกษา และกลุ่มประชาชนทั่วไป 2. กลุ่มที่เคย หรือยังเกี่ยวข้องกับยาเสพติด ได้แก่ ผู้เสพ /ผู้ติดยาเสพติด ผู้ที่เคยเสพ ผู้ที่หลงผิด (ผู้ค้ารายย่อย) ผู้ถูกคุมประพฤติ ผู้ที่ได้รับนิรโทษ

วิธีดำเนินการ เพื่อให้ตำบลท่าบ่อเป็นตำบลที่ปลอดปัญหายาเสพติด โดยศูนย์ปฏิบัติการต่อสู้เพื่อเอาชนะยาเสพติดองค์การบริหารส่วนตำบลท่าบ่อ ได้กำหนดแนวทางการดำเนินการในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในพื้นที่ ดังนี้ 1. การลดจำนวนผู้ที่เกี่ยวข้องกับยาเสพติด โดยจำแนกกลุ่มต่างๆ ดังนี้ กลุ่มเสี่ยง - การใช้กระบวนการชุมชนเข้มแข็ง โดยมีหน่วยงานหลักร่วมกัน คือ วัด (พระสงฆ์) บ้าน(ครอบครัว/สังคม) ราชการ/โรงเรียน หรือที่เรียกย่อ ๆ ว่า บ ว ร เป็นแกนหลักในการดำเนินการป้องกัน รณรงค์และการแก้ไขปัญหายาเสพติด - การจัดกิจกรรมของเยาวชนด้านการส่งเสริมการกีฬา - การจัดกิจกรรมเชิงสร้างสรรค์ในชุมชน กีฬาต้านยาเสพติด - การจัดกิจกรรมอื่นๆ เช่น การอบรม ให้ความรู้ ให้เยาวชนและประชาชนทั่วไปเกิดความตระหนักถึงภัยยาเสพติด

กลุ่มผู้เสพ/กลุ่มติดยา - การรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล การพิสูจน์ข้อมูลที่ได้มา/พบ และแนะนำให้เลิกเสพ - การรณรงค์ประชาสัมพันธ์สร้างความเข้าใจแก่ครอบครัวผู้เสพ/ผู้ติด - การส่งตัวผู้เสพ ผู้ติดเข้าสู่สถานที่รับการบำบัดรักษา - การดูแลและติดตามภายหลังการบำบัดรักษา กลุ่มผู้ผลิต/ผู้ค้า - การสร้างเครือข่ายเฝ้าระวังปัญหายาเสพติดในพื้นที่ - การปราบปราม จับกุมดำเนินคดีตามกฎหมายโดยเด็ดขาด - การอบรมให้กลับตัวเป็นคนดี

2. ไม่ให้มีผู้เสพ/ผู้ค้า - การป้องกัน ปราบปราม เฝ้าระวังการแพร่ระบาดยาเสพติดในพื้นที่ - การจัดกิจกรรมเสริม เช่น กีฬา/นันทนาการ/ชุมชน/การจัดสถานที่สาธารณะสำหรับการแสดงออกในเชิงบวกของเยาวชน/ชุมชน - การติดตามพฤติกรรมผู้บำบัดและพื้นฟู

3. ประชาคมหมู่บ้าน/ชุมชนรับรองเป็น “หมู่บ้าน/ชุมชน เข็มแข็งเอาชนปัญหายาเสพติด” - รายงานผลการดำเนินงานของ ศปส. อบต. ให้ ศปส. อำเภอ ทราบ - อำเภอเสนอ ศปส.จ. ประกาศเป็นหมู่บ้าน/ชุมชนเอาชนะยาเสพติด ยุทธศาสตร์ โครงการ กิจกรรม 6.1 ยุทธศาสตร์ด้านการป้องกันกลุ่มผู้ที่มีโอกาสเข้าไปใช้ยาเสพติด 6.2 ยุทธศาสตร์ด้านการแก้ไขปัญหาผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติด 6.3 ยุทธศาสตร์ด้านการบริหารจัดการอย่างบูรณาการ

การติดตามประเมินผล ประเมินผลและรายงานผลการดำเนินการทั้งหมด โดยศูนย์ปฏิบัติการต่อสู้เพื่อเอาชนะยาเสพติด องค์การบริหารส่วนตำบลท่าบ่อ ให้ศูนย์การต้อสู้เพื่อเอาชนะยาเสพติด อำเภอท่าบ่อ และจังหวัดหนองคาย

ความหมายของยาเสพติด ยาเสพติด หมายถึง สารใดก็ตามที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ หรือสารที่สังเคราะห์ขึ้น เมื่อนำเข้าสู่ร่างกาย ไม่ว่าจะโดยวิธี รับประทาน ดม สูบ ฉีด หรือด้วยวิธีการใด ๆ แล้ว ทำให้เกิดผลต่อร่างกายและจิตใจนอกจากนี้ยังจะทำให้เกิดการเสพติดได้ หากใช้สารนั้นเป็นประจำทุกวัน หรือวันละหลาย ๆ ครั้ง

ตัวอย่างยาเสพติดและผลของการเสพยาเสพติด ยาเสพติดประเภทกระตุ้นประสาท ยาเสพติดประเภทกระตุ้นประสาท  มีผลต่อระบบประสาททำให้ประสาทตึงเครียด ความคิดสับสน เกิดภาพหลอน  เพ้อคลั่งคล้ายคนเป็นโรคจิตชนิดหวาดระแวงหรือเป็นบ้าได้ตื่นเต้นง่าย  พูดมาก  มือสั่น  เหงื่อออกมาก  นอนไม่หลับ  กลิ่นตัวแรง  ปากและจมูกแห้ง  ริมฝีปากแตก รูม่านตาเบิกกว้าง  หัวใจเต้นแรงและเร็ว  ปวดศีรษะ  เบื่ออาหาร  คลื่นไส้  อาเจียน  ท้องเดิน  ปวดท้องอย่างรุนแรง ยาเสพติดประเภทนี้ได้แก่  ยาบ้า  โคเคน  เอ็คตาซี  กระท่อม

ยาบ้า              เม็ดยาบ้า ยาบ้า เป็นสารสังเคราะห์มีแอมเฟตามีนเป็นส่วนประกอบมีชื่อเรียกต่าง ๆ เช่น  ยาขยัน  ยาแก้ง่วง  ยาโด๊ป  อาจพบในลักษณะเป็นเม็ดเล็ก ๆ  กลมแบน  รูปเหลี่ยมรูปหัวใจ  หรือแคปซูล และมีสีต่าง ๆกัน เช่น ขาว เหลือง น้ำตาล เขียว ฯลฯ มักพบแพร่หลายในลักษณะกลมแบน  สีขาว  มีเครื่องหมายการค้า เป็นสัญลักษณ์หลายแบบ  เช่น  รูปหัวม้าและอักษร LONDON  รูปดาว  รูปอักษร 99, 44 และ M เป็นต้นและอาจมีชื่อเรียกต่าง ๆกัน ออกไปนิยมเสพโดยรับประทานโดยตรงหรือผสมในอาหาร  หรือเครื่องดื่ม หรือเสพโดยนำยาบ้ามาบดแล้วนำไปลนไฟแล้วสูดดมเป็นไอระเหยเข้าสู่ร่างกาย

ผลกระทบของยาบ้า เกิดภาพหลอนเพ้อคลั่งคล้ายคนเป็นโรคประสาทหวาดระแวง อาการของผู้เสพยาบ้า ตื่นเต้นง่าย  พูดมาก  มือสั่น  เหงื่อออกมาก  นอนไม่หลับ  ปากและจมูกแห้ง  ริมฝีปากแตก  รูม่านตาเบิกกว้างหัวใจเต้นเร็ว  ปวดศีรษะ  เบื่ออาหาร ประสาทตึงเครียด  ความคิดสับสน  เมื่อเสพไปนาน ๆ หรือเสพจำนวนมากจะทำให้เกิดภาพหลอนเพ้อคลั่งคล้ายคนเป็นโรคประสาทหวาดระแวงเป็นบ้าได้  ผลกระทบของยาบ้า  เกิดภาพหลอนเพ้อคลั่งคล้ายคนเป็นโรคประสาทหวาดระแวง

พิษภัยยาบ้าที่มีต่อร่างกาย 1. พิษต่อสมองทำให้เส้นเลือดในสมอง 2 พิษภัยยาบ้าที่มีต่อร่างกาย 1. พิษต่อสมองทำให้เส้นเลือดในสมอง 2. พิษต่อระบบประสาท ทำให้ประสาทตึงเครียด เกิดภาพหลอน  เพ้อคลั่ง  ความคิดสับสน 3. พิษต่อหัวใจ ทำให้หัวใจเต้นแรง เต้นผิดจังหวะ หัวใจวายได้ 4. พิษต่อปอด ทำให้เกิดโรคเกี่ยวกับปอด 5. พิษต่อตับ  ทำให้ตับอักเสบ 6. พิษต่อไต ทำให้ไตไม่ทำงาน 7. พิษต่อระบบทางเดินอาหาร ทำให้ปวดท้องอย่างรุนแรง  เบื่ออาหาร ท้องเดิน คลื่นไส้ อาเจียน 8. พิษต่อกล้ามเนื้อ ทำให้เกิดการเจ็บปวดตามกล้ามเนื้อ 9. พิษต่อระบบไหลเวียนของโลหิต ทำให้เกิดอาการปวดศีรษะ  ความดันโลหิตสูง

อาการด้านร่างกาย   ตื่นเต้นง่าย  พูดมาก  มือสั่น  เหงื่อออกมาก  นอนไม่หลับ  กลิ่นตัวแรง  ปากและจมูกแห้ง  ริมฝีปากแตก รูม่านตาเบิกกว้าง  หัวใจเต้นแรงและเร็ว  ปวดศีรษะ  เบื่ออาหาร  คลื่นไส้  อาเจียน  ท้องเดิน  ปวดท้องอย่างรุนแรง อาการด้านจิตใจประสาทตึงเครียด ความคิดสับสน เกิดภาพหลอน  เพ้อคลั่งคล้ายคนเป็นโรคจิตชนิดหวาดระแวงหรือเป็นบ้าได้ ผลกระทบของยาบ้า ทำให้เสียชีวิตหรือบาดเจ็บ สูญเสียอวัยวะร่างกายพิการ เสียทรัพย์สินทั้งของตัวเอง ผู้อื่นและสังคมส่วนรวม อาจถูกจับและถูกดำเนินคดี ทางกฎหมาย ครอบครัวเดือดร้อยผลกระทบของยาบ้าทำให้เสียชีวิตหรือบาดเจ็บ สูญเสียอวัยวะร่างกายพิการ เสียทรัพย์สินทั้งของตัวเอง ผู้อื่นและสังคมส่วนรวม อาจถูกจับและถูกดำเนินคดี ทางกฎหมาย ครอบครัวเดือดร้อน ก่อให้เกิดปัญหา อาชญากรรมต่าง ๆตามมาอีกมากมายร้อน ก่อให้เกิดปัญหา อาชญากรรมต่าง ๆตามมาอีกมากมาย

โคเคน   ดอกโคคา                               ผลและใบโคคา   โคเคน เป็นสารที่สกัดได้จากใบของต้นโคคา มีฤทธิ์กระตุ้นประสาท มีลักษณะเป็นผงสีขาวผลึกเป็นก้อนใส รสขมไม่มีกลิ่น  ต้นโคคาจะมีลักษณะพิเศษคือเส้นกลางใบจะเป็นสันนูนออกมาให้เห็นทั้งด้านหน้า และด้านหลังของใบ  การผลิตโคเคนจะต้องนำใบโคเคนไปแปรสภาพ โดยอาศัยอุปกรณ์และน้ำยาเคมีต่าง ๆ สำหรับโคเคนที่แพร่ระบาดพบว่าเป็นโคเคนที่อยู่ในรูปของโคเคนไฮโดรคลอไรด์มีลักษณะผลึกสีขาวและละลายน้ำได้ดีเสพโดยการสูดเข้าไปในโพรงจมูกซึ่งจะมีฤทธิ์ในการกระตุ้นประสาทอย่างรวดเร็ว อาการของผู้เสพโคเคน ระยะแรกที่เสพจะกระตุ้นประสาททำให้เกิดอาการไร้ความรู้สึก  ดูเหมือนมีกำลังมากขึ้น มีความกระปรี้กระเปร่าไม่เหนื่อย เมื่อหมดฤทธิ์ยาร่างกายจะอ่อนเพลียและเมื่อยล้าขึ้นทันทีถ้าเสพถึงขั้นติดยาจะมีผลทำให้หัวใจเต้นแรงความดันโลหิตสูง ตัวร้อน นอนไม่หลับ  

กระท่อม                  กระท่อมก้านแดง                       กระท่อมก้านเขียว กระท่อมเป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง มีแก่นและเนื้อไม้แข็ง ใบหนาทึบ ลักษณะคล้ายใบกระดังงา  หรือใบฝรั่ง  ใบกระท่อมมีฤทธิ์ในการกระตุ้นประสาทที่นิยมนำมาเสพมี 2 ชนิด  หนึ่งมีก้าน และเส้นใบเป็นสีแดงเรื่อ ๆ  อีกชนิดหนึ่งมีก้านและเส้นใบเป็นสีเขียว นิยมเสพโดยการเคี้ยวใบกระท่อมดิบ ๆ อาการของผู้เสพกระท่อม  ร่างกายทรุดโทรมมาจากการทำงานเกินกำลัง  ปวดเมื่อยตามข้อและกล้ามเนื้อ ผิวหนังแห้งและดำ  มีสภาพจิตใจสับสน  เมื่อเสพไปนาน ๆ สักระยะเวลาหนึ่งจะเกิดอาการประสานหลอน ฉุนเฉียวกระวนกระวาย มึนงงและเศร้าซึม 

ยาเสพติดประเภทหลอนประสาท ยาเสพติดประเภทหลอนประสาท ได้แก่ เห็ดขี้ควาย  แอลเอสดี ฯลฯ  สำหรับแอลเอสดีจะมีลักษณะเป็นผลึกสีขาว ไม่มีกลิ่น  มักพบอยู่ในรูปของกระดาษเคลือบในลักษณะแสตมป์  (magicpaper) เม็ดกลมแบน   กลมรี   แคปซูล  ส่วนเห็ดขี้ควายมีสารที่ออกฤทธิ์ทำลายประสาทอย่างรุนแรงเมื่อบริโภคเข้าไปจะเกิดอาการเมา  เคลิบเคลิ้ม และถึงขนาดบ้าคลั่งในที่สุด  ฤทธิ์ของยาเสพติดกลุ่มนี้มีผลต่อระบบประสาทสมองส่วนสัมผัสทั้ง 5 โดยฤทธิ์ของยาเสพติดกลุ่มนี้จะไปบิดเบือนทำให้การมองเห็น  การได้ยิน  การชิมรส  การสัมผัส และการดมกลิ่น เปลี่ยนแปลงไปจากที่เป็นจริงเห็นภาพลวงตาเป็นจินตนาการที่มีทั้งที่ดี  สวยงามและน่ากลัวจนไม่สามารถควบคุมได้  และถ้าฤทธิ์หลอนประสาทเกิดขึ้นมาก ๆ จะทำให้ผู้เสพกลายเป็นคนบ้ายาเคตามีน

เอ็คซ์ตาซ เอ็คซ์ตาซี     เป็นสารที่ได้จากการสังเคราะห์ทางเคมี ส่นประกอบทางเคมีที่สำคัญคือ 3,4  Methylenedioxymethamphetamine ,  MDMA (เมทิลลีนไดออกซีเมทแอมเฟตามีน)ในประเทศไทยกำหนดให้สารนี้ เป็นวัตถุออกฤทธิ์ประเภทที่ 1  มักจะพบในลักษณะที่เป็นแคปซูลทั้งขนาดเล็กและใหญ่สีต่าง ๆหรือเป็นเม็ดกลมแบน  สีขาว  สีน้ำตาล  สีชมพู  ในบางประเทศรู้จักกันในนามยา “E” หรือ “ADAM” เอ็คซ์ตาวี มีฤทธิ์กระตุ้นประสาทเช่นเดียวกับยาบ้าแต่รุนแรงมากกว่าจะออกฤทธิ์หลังจากเสพเข้าไปแล้วประมาณ 30-45 นาที และจะมีฤทธิ์อยู่ได้ประมาณ 6-8 ชั่วโมง ยาเอ็คซ์ตาซีจะออกฤทธิ์อย่างเงียบ ๆ โดยมีผลทำให้สำเหนียกของการได้ยินเสียงและการมองเห็นสีสูงเกินปกติ  การออกฤทธิ์ในระยะสั้น ทำให้เกิดอาการเหงื่อออกปากแห้ง ไม่มีอาการหิว  หัวใจเต้นเร็ว และความดันสูง มีอาการคลื่นเหียน บางครั้งก็มีอาการเกร๊งที่แขนขา และขากรรไกร ผู้เสพอาจจะรู้สึกสัมผัสสิ่งต่าง ๆรุนแรงขึ้น รู้สึกผ่อนคลาย  มึนและสงบ  หลังจากนั้นผู้เสพอาจรู้สึกเหนื่อย และกดดันยังไม่มีหลักฐานที่สรุปได้ว่า  เอ็คซ์ตาซีเป็นยาโป๊วที่ช่วยในเรื่องเพศสัมพันธ์แต่อย่างใด  ยาเอ็คซ์ตาซี

ยาเสพติดประเภทหลอนประสาท เห็ดขี้ควาย  เห็ดขี้ควาย  เป็นสารเสพติดประเภทหนึ่งจัดอยู่ในจำพวกยาเสพติดประเภทหลอนประสาท  มีสารที่ออกฤทธิ์ทำลายประสาทอย่างรุนแรงเมื่อบริโภคเข้าไปจะเกิดอาการเมา  เคลิบเคลิ้ม และถึงขนาดบ้าคลั่งในที่สุด

ยาเคตามีน (Ketamine)เป็นยาเสพติดที่ผลิตขึ้นโดยการสังเคราะห์  จัดให้เป็นยาควบคุมพิเศษใช้ในทางการแพทย์เป็นยาสลบสำหรับผ่าตัดระยะสั้น  มีฤทธิ์หลอนประสาทอย่างรุนแรง  เรียกกันทั่วไปว่า ยาเค หรือ เคตามีน เคตาวา , เคตารา โดยทั่วไปจะอยู่ในรูปผงแคปซูล  ยาเม็ด  ผลึกและสารละลาย อาการของผู้เสพยาเคมีการนำเคตามีนมาใช้ในทางที่ผิด เพื่อให้เกิความมึนเมา นิยมเสพ โดยการนัตถุ์ หรือสูดดม จะมีฤทธิ์หลอนประสาทอย่างรุนแรง ผู้เสพจะรู้สึกเคลิบเคลิ้ม  รู้สึกว่าตนเองมีอำนาจพิเศษ ซึ่งสร้างความสุขให้คล้ายกับอาการหลอนทางประสาท  ผู้ที่ใช้ยาจะมีอาการสูญเสียกระบวนการทางความคิด  ตาลาย  ร่างกายเคลื่อนไหวไม่สัมพันธ์กัน ความคิดสับสน ถ้าใช้เคตามีนในปริมาณที่มากเกินไป  อาจทำให้เกิดอาการหายใจติดขัด ทำให้เสียชีวิตได้ในที่สุด

ยาเสพติดประเภทผสมผสาน ยาเสพติดประเภทผสมผสาน    ผู้เสพจะมีอาการโดยเบื้องต้นจะกระตุ้นประสาทให้ผู้เสพตื่นตัว  ร่าเริง  ช่างพูด  หัวเราะ  ตลอดเวลาต่อมาจะกดประสาททำให้รู้สึกคล้ายเมาเหล้า  มีอาการง่วงนอน เซื่องซึม  เมื่อเสพมากขึ้นจะหลอนประสาท  อาจเห็นภาพลวงตา  หูแวว  หรือมีการหวาดระแวง  ความคิดสับสนควบคุมตนเองไม่ได้  ผู้เสพกัญชาส่วนใหญ่มักป่วยเป็นโรคจิตในภายหลัง 

ยาเสพติดประเภทผสมผสาน  ต้นกัญชา กัญชาอัดแท่ง  กัญชาสอดใส้บุหรี่ กัญชาอัด