ไฮเพอร์โบลา (Hyperbola)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
จัดทำโดย นางวรวรรณ ชะโลธาร
Advertisements

คลิกที่นี่เพื่อเข้าชม
ทฤษฎีกราฟเบื้องต้น อ.สุรัชน์ อินทสังข์ ภาควิชาหลักสูตรและการสอน
แปลคำศัพท์สำคัญ Chapter 2 หัวข้อ 2. 1 – 2
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
คลิกที่นี่เพื่อเข้าชม
คณิตศาสตร์เพิ่มเติ่ม ค เรื่อง วงกลม โดย ครูนาตยา บุญเรือง
รู ป ว ง ก ล ม พัฒนาโดย นายวรวุธ อัครกตัญญู
พื้นที่ผิวและปริมาตร
พาราโบลา (Parabola).
ทัศนศาสตร์(Optics) วิชาศึกษาธรรมชาติแสงและการมองเห็น.
จงหาระยะห่างของจุดต่อไปนี้ 1. จุด 0 ไปยัง จุด 0 ไปยัง 2
ความเท่ากันทุกประการ
ทฤษฏีกราฟเบื้องต้น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5.
อสมการ เสถียร วิเชียรสาร ขอบคุณ.
การแปลงทางเรขาคณิต F M B N A/ A C/ C B เสถียร วิเชียรสาร ขอบคุณ B/
บทที่ 6 การเขียนภาพสามมิติ ภาพอ็อบลีก
บทที่ 6 การเขียนภาพสามมิติ ส่วนที่ 1
Points, Lines and Planes
จุด เส้น และระนาบ จุดเจาะระหว่างเส้นกับระนาบ
ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ เป็นเซตของคู่อันดับ
ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ เป็นเซตของคู่อันดับ
เส้นตรงและระนาบในสามมิติ (Lines and Planes in Space)
การประยุกต์ใช้ปริพันธ์ Applications of Integration
คณิตศาสตร์และสถิติธุรกิจ
Chapter 5 การประยุกต์ของ อินทิกรัล Applications of Integrals.
อนุพันธ์อันดับหนึ่ง ( First Derivative )
Application of Graph Theory
หน่วยที่ 11 อินทิกรัลสามชั้น
ข้อ4.จงพิจารณาการผ่านขั้ว การสมมาตรกับแกนขั้ว กับเส้นตรง
ทฤษฏีบทพีธาโกรัส กรรณิกา หอมดวงศรี ผู้เขียนเนื้อหา.
Function and Their Graphs
คำศัพท์บทที่ 1 เสนอ อาจารย์ชัยสิทธิ์ พงพัฒน จัดทำโดย นางสาวมานิตา จันแก่น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/5 เลขที่ 22 โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย พิษณุโลก.
Quadratic Functions and Models
ให้ขยับก้านไม้ขีดได้ 3 ก้าน แล้วทำให้ปลาว่ากลับด้านจากซ้ายมาขวา
การสร้างเกี่ยวกับส่วนของเส้นตรง
กราฟความสัมพันธ์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
เลนส์นูน.
ค32213 คณิตศาสตร์สำหรับคอมพิวเตอร์ 3 โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
เ ฮี ย น ฟิ สิ ก ส์ โ ต ย ค รู โ อ๊ บ
วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค ครูผู้สอน นางสาวสมใจ จันทรงกรด
พาราโบลา (Parabola) โรงเรียนอุดมดรุณี ครูฐานิตดา เสมาทอง
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
โดย ครูเพ็ญนภา ทองนุ่ม
หน่วยการวัดมุมเรียกว่า องศา เขียนสัญลักษณ์แทนด้วย “ ”
เรขาคณิต อาจารย์ อติชาต เกตตะพันธุ์ 30 เมษายน – 1 พฤษภาคม 2551
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
การสร้างแบบเสื้อและแขน
เรื่อง สมาร์ทคิดกับคณิตศาสตร์
พีระมิด.
วงรี ( Ellipse).
การสะท้อนแสงบนกระจกเงา
การสะท้อนแสงของผิวโค้ง
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
สมาชิกในกลุ่ม นายจารินทร พุ่มกลั่น เลขที่ 2 นายสุทธิพร พันธุ์ดี เลขที่ 11 นางสาวเพ็ญนภา คูณเดช เลขที่ 21 นางสาวรุ่งนัดดา อ่อนพิมพ์ เลขที่ 35 นางสาวกมลทิพย์
รูปทรงเรขาคณิต จัดทำโดย เด็กชายสุวพิชญ์ สินธุแปง ชั้น ม. 1/4 เลขที่ 14
บทนิยาม ไฮเพอร์โบลา คือ เซตของจุดบนระนาบ ซึ่งผลต่างของระยะทางจุดเหล่านี้ไปยังจุดคงที่สองจุดบนระนาบ มีค่าคงตัวซึ่งมากกว่าศูนย์ แต่น้อยกว่าระยะห่างระหว่างจุดคงที่สองจุดนั้น.
พื้นที่ผิวและปริมาตรทรงกลม
พื้นที่ผิวและปริมาตรกรวย
ระยะห่างระหว่างจุดสองจุด
สื่อการสอนคณิตศาสตร์
-การสะท้อน -การเลื่อนขนาน -การหมุน
บทที่ 1 เรขาคณิตเบื้องต้น
ความชันและสมการเส้นตรง
โรงเรียนวังไกลกังวล หัวหิน
เรามาทำ ความรู้จัก กันเลย ระยะทางระหว่างจุด 2 จุด ระยะทาง ( distance ) หมายถึง วัตถุแต่ละอย่าง อยู่ห่างกันเท่าไรในช่วงเวลาหนึ่ง ในทางคณิตศาสตร์
เส้นโค้งกับอนุพันธ์ สัมพันธ์กันอย่างไร?
การแก้ไขปัญหา วิชา เทคโนโลยีและสารสนเทศ
พาราโบลา (Parabola).
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ไฮเพอร์โบลา (Hyperbola)

นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/1 สมาชิก น.ส.จารุวรรณ อาวาศ เลขที่ 35 น.ส.รจนา ด้วงคำจันทร์ เลขที่ 39 น.ส.อตินุช สัจจวิโส เลขที่ 40 น.ส.ฉันธณา ดอกไม้จีน เลขที่ 36 นายทินวัตน์ ศรีเกลี้ยง เลขที่ 17 นายจักรพงษ์ กันยาณวัฒน์ เลขที่ 13 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/1

นายภานุวัฒน์ เกียรตินฤมล เสนอ นายภานุวัฒน์ เกียรตินฤมล

บทนิยาม ไฮเพอร์โบลา 1 คือ เซทของจุดบนระนาบ ที่เป็นภาคตัดกรวยและมีความเยื้องศูนย์กลาง e>1 2 คือ เซทของจุดบนระนาบ ที่ทำให้ค่าสัมบูรณ์ของผลต่างระหว่างระยะจากจุดไปยังจุดคงที่สองจุด เป็นค่าคงที่

บทนิยาม ไฮเพอร์โบลา (ต่อ) จุดคงที่สองจุด เรียกว่า จุดโฟกัสของไฮเพอร์โบลา จุดกึ่งกลางระหว่างจุดโฟกัสทั้งสอง เรียกว่า จุดศูนย์กลาง ของโฮเพอร์โบลา จุดที่เส้นตรงผ่านโฟกัสทั้งสองตัดกราฟ เรียกว่า จุดยอดไฮเพอร์โบลา ส่วนของเส้นตรงที่อยู่ระหว่างจุดยอดทั้งสอง เรียกว่า เส้นแกนตามขวาง

บทนิยาม ไฮเพอร์โบลา (ต่อ) คอร์ดที่ตั้งฉากกับแกนตามขวาง ณ จุดโฟกัส เรียกว่า เลตัสเรกตัมของไฮเพอร์โบลา เส้นตรงที่ผ่านจุดศูนย์กลางพบกับกราฟของไฮเพอร์โบลา ณ จุด อนันต์ เรียกว่า เส้นกำกับของไฮเพอร์โบลา ส่วนของเส้นตรงที่ตั้งฉาก และถูกแบ่งครึ่งกับแกนตามขวาง ณ จุดศูนย์กลางของไฮเพอร์โบลา โดยที่จุดปลายทั้งสองอยู่ห่างจากจุดยอดของไฮเพอร์โบลา เท่ากับระยะทางจากจุดศูนย์กลางถึงจุดโฟกัสของไฮเพอร์โบลา เรียกว่า แกนสังยุคของไฮเพอร์โบลา

จากรูปที่ 1 จะได้ว่า จุด F1 และ F2 เป็นจุดโฟกัสของไฮเพอร์โบลา จุด V1 และ V2 เป็นจุดยอดของไฮเพอร์โบลา จุด C เป็นจุดศูนย์กลางของไฮเพอร์โบลา เส้นตรง t1 และ t2 เป็นเส้นกำกับของไฮเพอร์โบลา ส่วนของเส้นตรง V1 V2 เป็นแกนตามขวางของไฮเพอร์โบลา ส่วนของเส้นตรง Q1 Q2 เป็นแกนสังยุคของไฮเพอร์โบลา

ส่วนประกอบที่สำคัญ ของไฮเพอร์โบลา

1. จุดศูนย์กลางของไฮเพอร์โบลา คือจุดกึ่งกลางระหว่างโฟกัสทั้งสอง 1. จุดศูนย์กลางของไฮเพอร์โบลา คือจุดกึ่งกลางระหว่างโฟกัสทั้งสอง ให้ c เท่ากับระยะห่างระหว่างจุดศูนย์กลางและโฟกัส

2. จุดยอดของไฮเพอร์โบลา คือจุดที่เส้นโค้งไฮเพอร์โบลาตัดกับ จุดยอดของไฮเพอร์โบลาจะมี 2 จุด แต่ละจุดจะอยู่ห่างจากจุดศูนย์กลางเท่ากัน ให้ a เท่ากับระยะห่างระหว่างจุดศูนย์กลางและจุดยอด จุด V' และ V เป็นจุดยอดของไฮเพอร์โบลา เนื่องจาก V เป็นจุดยอดบนไฮเพอร์โบลา ดังนั้น จากบทนิยามไฮเพอร์โบลา จะได้ |VF' - VF| = VF' - VF = ค่าคงตัว แต่ VF' = V V' + V'F' ดังนั้น ค่าคงตัว = V V' + V'F' - VF = V V' ( V'F' = VF) = 2a แสดงว่า ค่าคงตัวซึ่งเป็นผลต่างในบทนิยาม จะมีค่าเท่ากับ 2a เสมอ

3. แกนตามขวาง (transverse axis) ของไฮเพอร์โบลา คือส่วนของเส้นตรงที่เชื่อมระหว่างจุดยอดทั้งสองของไฮเพอร์โบลา แกนตามขวางของไฮเพอร์โบลา คือ CV = CV' = a ดังนั้น ความยาวของแกนตามขวางเท่ากับ 2a

4. แกนสังยุค (conjugate axis) ของไฮเพอร์โบลา คือส่วนของเส้นตรง ซึ่งแบ่งครึ่งและตั้งฉากกับแกนตามขวางของไฮเพอร์โบลา

5. เส้นกำกับ (asypmptote) ของไฮเพอร์โบลา จากจุดยอดและจุดปลายของแกนสังยุคทั้งสองจุด ถ้าสร้างรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก โดยการลากเส้นให้ผ่านจุดยอดขนานกับแกนสังยุค และลากเส้นให้ผ่านจุดปลายแกนสังยุคขนานกับแกนตามขวาง แล้วเส้นตรงที่อยู่ในแนวเส้นทแยงมุมของรูปสี่เหลี่ยมมีทั้งสองเส้นเรียกว่า เส้นกำกับของ ไฮเพอร์โบลา เส้นกำกับจะช่วย ให้เขียนกราฟได้ง่ายและถูกต้องยิ่งขึ้น กล่าวคือ ไฮเพอร์โบลาจะผ่านจุดยอด และอยู่ภายในขอบเขตของเส้นกำกับทั้งสอง โดยที่เส้นโค้งของกราฟไฮเพอร์โบลา จะโค้งหาเส้นกำกับทีละน้อยๆ แต่จะไม่ตัดหรือทับเส้นกำกับดังรูป

หลักการ ในการ วาดกราฟ ไฮเพอร์ โบลา ที่ถูกต้อง

1. หาจุดศูนย์กลาง. 2. หาจุดยอด. 3. กาจุดปลายแกนสังยุค. 4 1. หาจุดศูนย์กลาง 2. หาจุดยอด 3. กาจุดปลายแกนสังยุค 4. สร้างรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากของเส้นกำกับ 5. ลากเส้นกำกับ 6. เขียนส่วนโค้งไฮเพอร์โบลา 7. เลตัสเรกตัมของไฮเพอร์โบลา หมายถึง ส่วนของเส้นตรงที่ผ่านโฟกัสตั้งฉากกับแนวแกนตามขวาง และมีจุดปลายอยู่บนไฮเพอร์โบลา

ในชีวิต ประจำ วัน ไฮเพอร์โบลา

สวัสดี