สรุปผลการดำเนินงานควบคุมและป้องกัน งานวัณโรค ประจำเดือน สิงหาคม 2557

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สถานการณ์โรคไข้เลือดออกจังหวัดเลย ปี 2556
Advertisements

นายชิดชัย อังคะ ไวมงคล หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ ผังเมือง นายมนัส ปรุง ทำนุ หัวหน้าฝ่ายปฏิบัติการ ร. อ. ปกรณ์เดช โลหิตหาญ หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ โยธาธิการ.
เขมกร เที่ยงทางธรรม สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑ กรุงเทพฯ
การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
ข้อมูลสถานการณ์ ระบาดวิทยา พฤศจิกายน 2557 กลุ่มงานควบคุมโรค.
การอบรมทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว(SRRT) เครือข่ายอำเภอเมืองนครปฐม วันที่ 27 มิถุนายน 2557 ณ ห้องประชุมอำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม ดรุณี โพธิ์ศรี
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กรกฎาคม 2555 ดร.นพ.ถวัลย์ พบลาภ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
แผนการควบคุมวัณโรค จังหวัดนราธิวาส
ชลบุรี ว่าง นายชิดชัย อังคะไวมงคล
สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน มิถุนายน 2557 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
1. การดำเนินงาน 15 ประเด็น โครงการ ( โครงการเฉลิมพระเกียรติ ) 1.1 โรคคอตีบ - ตัวชี้วัด ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนไม่ต่ำกว่า ร้อยละ 85 ในทุกจังหวัด - เป้าหมาย.
นายอธิปัตย์ พ่วง ลาภ โยธาธิการและผัง เมืองจังหวัด นายอนุชา เจริญพันธ์ หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ โยธาธิการ นายจรัส สุด จันทร์ หัวหน้าฝ่ายปฏิบัติการ นายพศิน.
ข้อมูลสถานการณ์ ระบาดวิทยา เมษายน 2558 กลุ่มงานควบคุมโรค.
โรงพยาบาลอ่างทอง ชื่อผู้ติดต่อ นางรัตนา งิ้ววิจิตร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงาน เวชกรรมสังคม โทรศัพท์ อีเมล์
โรงพยาบาลเขาชัยสน ขนาด 30 เตียง จังหวัดพัทลุง
และองค์การบริหารส่วนจังหวัดกาญจนบุรีสาขาระดับอำเภอ 6 สาขา
พญ. ปิยนิตย์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
อำเภอควบคุมยาสูบและเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์เข้มแข็ง ปี 2556
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
เป้าหมายงานวัณโรค ปี 2559 ระดับความสำเร็จของการควบคุมวัณโรค 1. การค้นหาและรายงานผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ เพิ่มขึ้น 10% ( ของปี 56) 2. รพ. ผ่านมาตรฐานรพ. คุณภาพการดูแลรักษาวัณ.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
แนวทาง การดำเนินงาน ป้องกันการจมน้ำ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
วาระการประชุม คปสจ. เดือน กันยายน 2560
การศึกษาอุบัติการณ์และปัจจัยเสี่ยงการเกิดพิษต่อตับ ในผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่ได้รับยาต้านไวรัสเอชไอวี โรงพยาบาลวารินชำราบ.
สรุปผลการดำเนินงานตามนโยบายการควบคุมโรคไม่ติดต่อ ด้านการเฝ้าระวังผู้ป่วยโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง ควบคุมระดับน้ำตาลและความดันได้ดี ปีงบประมาณ 2561.
สถานการณ์ ไข้เลือดออก อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี ปี 2560
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ ข้อสั่งการ/ข้อเสนอแนะ
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ยินดีต้อนรับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน (พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์) และคณะ ในโอกาสตรวจเยี่ยมจังหวัดตาก วันที่ กรกฎาคม 2558.
ปัญหาของข้อมูลในระบบHDC
รายงานสถานการณ์โรคไข้เลือดออกจังหวัดสระบุรี
รายงานสถานการณ์โรคไข้เลือดออกจังหวัดสระบุรี
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
โรคติดเชื้อไวรัสซิก้า
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก สัปดาห์ที่ 35
อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ (≥ 85 %)
คำสำคัญ : ความชุกวัณโรค, ผู้ต้องขังในเรือนจำ
แนวทางการรณรงค์ พัฒนาการเด็ก 4-8 กรกฎาคม 2559
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
สถานการณ์โรค ประจำเดือน โรคไข้เลือดออก สถานการณ์โรคที่สำคัญ
คลินิกโรคติดเชื้อเด็ก โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์
สถานการณ์และการดำเนินงานวัณโรค จังหวัดเชียงใหม่
การเตรียมการป้องกันและแก้ปัญหาภัยแล้ง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข โรงแรมเดอะรอยัลเจมส์ กอล์ฟ รีสอร์ท
โครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด Polio and Measles Eradication Projects
ศูนย์ปฏิบัติการยุติวัณโรค NOC TB อำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
การปรับเปลี่ยน การใช้วัคซีนโปลิโอ
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดฉะเชิงเทรา
สถานการณ์โรคไข้หวัดใหญ่ ข้อมูล ณ วันที่ 18 ตุลาคม 2559
โปลิโอสายพันธ์วัคซีนกลายพันธุ์ Circulated Vaccine Derived Poliovirus
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก สัปดาห์ที่ 51
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
โรงพยาบาลยางตลาด 87 ม.20 ต.ยางตลาด อ.ยางตลาด จ.กาฬสินธุ์
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สรุปผลการดำเนินงานควบคุมและป้องกัน งานวัณโรค ประจำเดือน สิงหาคม 2557 สรุปผลการดำเนินงานควบคุมและป้องกัน งานวัณโรค ประจำเดือน สิงหาคม 2557

จำนวนผู้ป่วยวัณโรคทุกประเภท ที่ยังรักษาอยู่ถึงปัจจุบัน (78) จำนวนผู้ป่วย (ราย) (62) (29) (21) (20) (20) (17) (13) (17) (5) (7) (9) (1) (8) รวม สสจ.เลย New M+ 149 ราย NEW M- 67 ราย New EP 60 ราย Relapse 7 ราย Others 11 ราย Others M+ 1 ราย TAD 2 ราย TAF 4 ราย New not done 1 ราย MDR-TB 5 ราย ***All form 307 ราย***

จำนวนผู้ป่วยวัณโรคทุกประเภท ที่ขึ้นทะเบียนเดือน กรกฎาคม 2557 11 จำนวนผู้ป่วย (ราย) 6 5 4 4 4 3 2 2 2 1 รวม สสจ.เลย New M+ 16 ราย NEW M- 18 ราย New EP 9 ราย Others 1 ราย ***All form 44 ราย***

ร้อยละของผู้ป่วยวัณโรคทุกประเภท ที่นอนโรงพยาบาล/Homeward (ก.ค.57) N/A N/A

ร้อยละของผู้ป่วยวัณโรคที่ขึ้นทะเบียน เดือน กรกฎาคม 2557 ที่ได้รับการให้การปรึกษา (VCT) ตรวจเอชไอวี และรับยา ARV ร้อยละ พบผู้ป่วย HIV  รพ.เลย 2 ราย ได้รับยา ARV แล้ว  รพ.เชียงคาน 1 ราย ยังไม่ได้รับ ARV (นัดตรวจCD4 เดือน ก.ย.57)  รพ.นาด้วง 1 ราย ยังไม่ได้รับ ARV (นัดตรวจCD4 เดือน ก.ย.57)  รพ.วังสะพุง 3 ราย ได้รับยา ARV แล้ว 2 ราย อีก 1 ราย รอตรวจCD4  รพ.ผาขาว 1 ราย รับยา ARV แล้ว (HIV เดิม)

การเยี่ยมบ้านตามเกณฑ์คุณภาพ 8-12 ครั้ง (ผู้ป่วยขึ้นทะเบียนเดือนพฤษภาคม 2557) N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A หมายเหตุ อ.เมือง มีผู้ป่วย New M+ 9 ราย ติดตามเยี่ยมในระยะเข้มข้น 6 ราย อีก 3 ราย เยี่ยมไม่ครบตามเกณฑ์ (ผลงาน67%) อ.ด่านซ้าย มีผู้ป่วยประเภทอื่นๆที่ไม่ใช่ New M+ 2 ราย ติดตามเยี่ยมในระยะเข้มข้น 1 ราย อีก1 รายไม่ได้ติดตามเยี่ยมเนื่องจาก ผู้ป่วยไปทำงานนอกพื้นที่ (ผลงาน 50%) อ.เชียงคาน มีผู้ป่วยประเภทอื่นๆที่ไม่ใช่ New M+ 3 ราย ติดตามเยี่ยมตามเกณฑ์ 2 ราย อีก 1 ราย เสียชีวิต (ผลงาน67%) อ.ภูกระดึง ผู้ป่วย New M+ 5 ราย ติดตามเยี่ยมตามเกณฑ์ 3 ราย ไม่ได้เยี่ยม 2 ราย เนื่องจาก เสียชีวิต 1 ราย และรักษาล้มเหลว 1 ราย (ขึ้นทะเบียนใหม่เป็น MDR-TB) (ผลงาน60%)

CONVERSION RATE (ผู้ป่วยขึ้นทะเบียนเดือนพฤษภาคม 2557) รพ.ภูเรือ มีผู้ป่วย New M+ 2 ราย ผลเสมหะเดือนที่ 2 เปลี่ยนจากบวกเป็นลบ 1 ราย อีก 1 รายผลเสมหะเดือนที่ 2-3 ยังพบเชื้ออยู่ (ผลงาน 50%) 2. รพ.วังสะพุง มีผู้ป่วย New M+ 4 ราย ผลเสมหะเดือนที่ 2 เปลี่ยนจากบวกเป็นลบ 3 ราย อีก 1 รายนัดตรวจเดือน ก.ย. 57 (ผลงาน 75%) 3. รพ.ภูกระดึง มีผู้ป่วย New M+ 5 ราย ผลเสมหะเดือนที่ 2 เปลี่ยนจากบวกเป็นลบ 3 ราย เสียชีวิต (อ่อนเพลีย รับประทานไม่ได้) 1 ราย อีก 1 ราย รักษาล้มเหลว (ขึ้นทะเบียนเป็น MDR-TB) (ผลงาน 60%)

SUCCESS RATE (ผู้ป่วยขึ้นทะเบียนเดือนมกราคม 2557) รพ.เลย New M+ 7 ราย cure 5 ราย กำลังรักษา 2 ราย (ผลงาน 71%) รพ.เชียงคาน New M+ 3 ราย cure 2 ราย โอนออกไม่ทราบผลการรักษา 1 ราย (ผลงาน 67%) รพ.วังสะพุง New M+ 5 ราย cure 3 ราย ขาดยา 1 ราย เสียชีวิต 1 ราย (ผลงาน 60%) รพ.เอราวัณ New M+ 2 ราย cure 1 ราย เสียชีวิต1 ราย (ผลงาน 50%) รพ.ผาขาว New M+ 1 ราย เสียชีวิต (สูงอายุ/มีโรคร่วม) (ผลงาน 0%)

สถานการณ์ MDR-TB จังหวัดเลย ปี 2557 ปี 2557 จังหวัดเลยมีผู้ป่วย MDR-TB ที่กำลังรักษาอยู่ในขณะนี้ 5 ราย อำเภอวังสะพุง 2 ราย อำเภอเชียงคาน 1 ราย อำเภอภูเรือ 1 ราย อำเภอภูกระดึง 1 ราย

MDR-TB จ.เลย นางกฤษณา แก้วมาลา อายุ 38 ปี นางกฤษณา แก้วมาลา อายุ 38 ปี ที่อยู่ 33 ม.1 ต.ศรีสงคราม อ.วังสะพุง เริ่มรักษา 14 ตุลาคม 2556 รับยา เดือนที่ 13 ยาที่ได้รับ Ofloxacin (100) 2*2 pc Cycloserine (250) 1*2 pc PAS (1000) 4*2 pc Ethambutol (400) 2*hs อาการทั่วไปปกติ น้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น กินยาต่อเนื่อง ไม่มีภาวะแทรกซ้อน หากมีปัญหาเรื่องDMน้ำตาลต่ำ hypoglycemia แพทย์ปรับยาฉีดให้ DOT โดย จนท. รพ.สต.โนนสว่าง

MDR-TB จ.เลย ที่อยู่ 1/1 ม.4 ต.ปากตม อ.เชียงคาน นายลานทอง ถมนา อายุ 45 ปี ที่อยู่ 1/1 ม.4 ต.ปากตม อ.เชียงคาน ผู้ป่วยอาศัยที่สวนยาง คนเดียว เริ่มรักษา 28 เมษายน 2557 รับยา เดือนที่ 4 ยาที่ได้รับ Ofloxacin (100) 4*hs Cycloserine (250) 2*2 pc PAS (1000) 6*2 pc Ethambutol (400) 2*hs Ethionamide (250) 2*2 pc Kanamycin (750) ฉีดทุกวัน เว้นเสาร์-อาทิตย์ อาการทั่วไปปกติ กินยาต่อเนื่อง DOT โดย จนท.รพ.สต.ท่าดีหมี ช่วงเช้า และ อสม. ช่วงเย็น

MDR-TB จ.เลย นายพนม โทลา อายุ 35 ปี นายพนม โทลา อายุ 35 ปี ที่อยู่ ศูนย์โยคะ บ้านร่องจิก ต.ร่องจิก อ.ภูเรือ เริ่มยา 2 มิถุนายน 2557 รับยาเดือนที่ 3 ยาที่ได้รับ Ofloxacin (100) 4*hs PAS (1000) 12*hs Ethambutol (400) 3*hs Streptomycin (750) ฉีดทุกวัน เว้นเสาร์-อาทิตย์ อาการทั่วไปปกติ กลุ่มงานควบคุมโรค สสจ.เลย /รพ.ภูเรือ/ รพ.ต.ร่องจิก ได้ออกไปติดตามผู้ป่วย เมื่อวันที่ 30 พ.ค. 57 ตกลงกับผู้ป่วยแล้ว จะ DOT โดย จนท. ช่วงเช้า (จันทร์-ศุกร์) เสาร์-อาทิตย์ เจ้าของศูนย์โยคะ จะเป็นผู้ทำ DOT ให้

MDR-TB นางหนู ทินราช อายุ 67 ปี (สัมผัส XDR-TB) ที่อยู่ 112 ม.9 ต.ห้วยส้ม อ.ภูกระดึง จ.เลย เริ่มรักษา 26 มิถุนายน 2557 ยาที่ได้รับ Ofloxacin (100) 3*2 pc Ethionamide (250) 1*3 pc Cycloserine (250) 1*3 pc PAS (1000) 6*2 pc Kanamycin (500) ฉีดทุกวัน เว้นเสาร์-อาทิตย์ DOT โดย จนท.รพ.สต.ห้วยส้ม

MDR-TB นายสายชล จันทะนาม อายุ 44 ปี (รายใหม่) นายสายชล จันทะนาม อายุ 44 ปี (รายใหม่) ที่อยู่ 76 ม.19 ต.ผาน้อย อ.วังสะพุง จ.เลย  รอผลทดสอบยา Second-line drugs จากสำนักวัณโรค (ผลจะออกประมาณ ก.ย. 57)  ขณะนี้แพทย์ให้ยา O,E

จำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกแยกรายเดือน จังหวัดเลย ปี 2557 เปรียบเทียบมัธยฐาน 5 ปี - ข้อมูลจากสำนักระบาดวิทยา ณ วันที่ 26 ส.ค.57 จังหวัดเลยมีอัตราป่วยอยู่ในลำดับที่ 73 ของประเทศ ลำดับที่ 18 ของภาค ลำดับที่ 5 ของเขต โดยมีผู้ป่วย 61 ราย อัตราป่วยเท่ากับ 9.67/แสน. - ข้อมูลจากงานระบาดวิทยา สสจ.เลย ตั้งแต่วันที่ 1 ม.ค. – 28 ส.ค.57 ยังมีจำนวน 61 ราย

พื้นที่ที่มีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกเดือนสิงหาคม 2557 (10 ราย) ข้อมูลผู้ป่วยสะสมตั้งแต่ต้นปี วันที่ 1 มกราคม - วันที่ 28 สิงหาคม 2557 อำเภอ ตำบล หมู่บ้าน จำนวนผู้ป่วย สัปดาห์ที่ป่วย วันเริ่มป่วย ประเภท   สะสมแต่ต้นปี รายแรก รายสุดท้าย พื้นที่เกิดโรค เมือง โพนไทร ม.9 1 32 15 ส.ค.57 ใหม่ น้ำสวย เพีย ม.2 33 19 ส.ค.57 นาด้วง ท่าสวรรค์ โนนสวาท ม.2 10 ส.ค.57 เชียงคาน ปากตม น้ำพร ม.2 18 ส.ค.57 เชียงคาน ม.1 12 ส.ค.57 เชียงคาน ม.2 ปากชม ชมเจริญ ชมเจริญ ม.1 30 2 ส.ค.57 ห้วยบ่อซืน นานกปีด ม.5 3 28,29,29 18 ก.ค.57 1 ส.ค.57 เชียงกลม เชียงกลม ม.1 29 ภูเรือ สานตม สำราญ ม.7 31 7 ส.ค.57

จำนวนผู้ป่วยโรคมือ เท้า ปาก แยกรายเดือน จังหวัดเลย ปี 2557 เปรียบเทียบมัธยฐาน 5 ปี -ข้อมูลจากสำนักระบาดวิทยา ณ วันที่ 26 ส.ค.57 จังหวัดเลยมีอัตราป่วยสูงลำดับที่ 12 ของประเทศ ลำดับที่ 1 ของภาค โดยมีจำนวนผู้ป่วย 688 ราย อัตราป่วยเท่ากับ 110.09 ต่อแสน. - ข้อมูลงานระบาดวิทยา สสจ.เลย ตั้งแต่วันที่ 1 ม.ค. – 28 ส.ค.57 จังหวัดเลยมีรายงานผู้ป่วย 715 ราย อัตราป่วยเท่ากับ 113.36/แสน.

อัตราป่วยต่อประชากรแสนคน อัตราป่วยโรคมือ เท้า ปากแยกรายอำเภอ จังหวัดเลย ปี 2557 สะสมตั้งแต่ต้นปี – 28 สิงหาคม 2557 อัตราป่วยต่อประชากรแสนคน จำนวน 114 74 76 41 44 122 102 50 9 29 17 17 9 11 ราย

อัตราป่วยโรคมือ เท้า ปาก แยกกลุ่มอายุ จังหวัดเลย ปี 2557 อัตราป่วยต่อประชากรแสนคน ปี จำนวน 73 580 57 3 1 0 0 1 0 0 ราย

จำนวนผู้ป่วยโรคไข้หวัดใหญ่แยกรายเดือน จังหวัดเลย ปี 2557 เปรียบเทียบมัธยฐาน 5 ปี - ข้อมูลจากสำนักระบาดวิทยา ณ วันที่ 26 ส.ค.57 จังหวัดเลยมีอัตราป่วยสูงลำดับที่ 26 ของประเทศ ลำดับที่ 3 ของภาครองจาก จ.นครราชสีมา และ อุบลราชธานี โดยมีจำนวนผู้ป่วย 321 ราย อัตราป่วยเท่ากับ 51.37 ต่อแสน. - ข้อมูลจากงานระบาดวิทยา สสจ.เลย ตั้งแต่วันที่ 1 ม.ค. – 28 ส.ค.57 มี 325 ราย ไม่มีผู้ป่วยเสียชีวิต อัตราป่วยเท่ากับ 51.53/แสน.

อัตราป่วยต่อประชากรแสนคน อัตราป่วยโรคไข้หวัดใหญ่ แยกรายอำเภอ จังหวัดเลย ปี 2557 สะสมตั้งแต่ต้นปี – 28 สิงหาคม 2557 อัตราป่วยต่อประชากรแสนคน จำนวน 212 29 22 33 8 7 3 1 5 2 2 1 0 0 ราย

สัดส่วน ILI สป.31 (วันที่ 3 –9 ส.ค.57)

สัดส่วน ILI สป.32 (วันที่ 10-16 ส.ค.57)

สัดส่วน ILI สป.33 (วันที่ 17- 23 ส.ค. 57)

สัดส่วน ILI จังหวัดเลย สป.31-33 (วันที่ 3-23 ส.ค.57)

สัดส่วน ILI จังหวัดเลย สป.31-33 (3-23 ส.ค.57) สัปดาห์ที่ 31 สัปดาห์ที่ 32 สัปดาห์ที่ 33

จำนวนผู้ป่วยโรคเลปโตสไปโรซีสจังหวัดเลยรายเดือน ปี 2557 เปรียบเทียบมัธยฐาน 5 ปี - ข้อมูลจากสำนักระบาดวิทยา ณ วันที่ 26 ส.ค.57 จังหวัดเลยมีอัตราป่วยสูงลำดับที่ 7 ของประเทศ ลำดับที่ 2 ของภาครองจาก จ.ศรีสะเกษ โดยมีผู้ป่วยจำนวน 45 ราย อัตราป่วยเท่ากับ 7.20 ต่อแสน. - ข้อมูลจากงานระบาดวิทยา สสจ.เลย ตั้งแต่วันที่ 1 ม.ค. – 28 ส.ค.57 มี 45 ราย ไม่มีผู้ป่วยเสียชีวิต

อัตราป่วยต่อประชากรแสนคน อัตราป่วยโรคเลปโตสไปโรซีส จังหวัดเลย ปี 2557 แยกรายอำเภอ สะสมตั้งแต่ต้นปี – 28 สิงหาคม 2557 อัตราป่วยต่อประชากรแสนคน จำนวน 4 20 5 2 3 2 1 1 2 1 1 3 0 0 ราย

Ebola Haemorrhagic Fever Bureau of Epidemiology, DDC, MPH ICD-10 : A98.4 Electron microscope of Ebola virus From:CDC,USA.

SPREAD OF EBOLA

โรคอีโบลา อยู่ในกลุ่มโรคไข้เลือดออก เกิดจากเชื้อไวรัสอีโบลา ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางขนาดประมาณ 80 นาโนเมตร ยาว 790-970 นาโนเมตร อยู่ในตระกูล Filoviridae ซึ่งประกอบด้วย 4 subtypes ได้แก่ แซร์อีร์ ซูดาน ไวอรี่โคท และเรสตัน 3 subtypes แรก ทำให้เกิดการป่วยรุนแรงในคน และมีอัตราตายสูง ร้อยละ 50-90 ส่วนเรสตันพบในฟิลิปปินส์ ทำให้เกิดรุนแรงในลิง แต่ในคนไม่ทำให้เกิด อาการ แหล่งรังโรคตามธรรมชาติ ยังไม่ทราบแน่ชัดจนปัจจุบัน ทวีปอาฟริกา และแปซิฟิกตะวันตก ดูเหมือนว่าน่าจะเป็นแหล่งโรค แต่ก็ยังไม่สามารถอธิบายได้ ถึงแม้ว่า สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม เช่น ลิง จะเป็นสาเหตุของการติดเชื้อในมนุษย์ แต่ก็ไม่ใช่รังโรค เชื่อว่าติดเชื้อมาจากสัตว์ป่า ปัจจับัน ตรวจพบเชื้อในพวก กอริลลา ชิมแปนซี (ไอวอรี่โค้ด และคองโก) กอริลลา (กาบอนและคองโก) และในสัตว์พวกกวางที่มีเขาเป็นเกลียว(คองโก) ในการศึกษา ทางห้องปฎิบัติการครั้งหนึ่งแสดงว่าค้างคาวติดเชื้ออีโบลาแล้วไม่ตาย ทำให้เกิดสมมติฐานว่าสัตว์จำพวกนี้หรือไม่ ที่ทำให้เชื้อไวรัสยังคงมีอยู่ในป่าแถบร้อนชื้น

การติดต่อ: สัมผัสโดยตรง กับ เลือด สิ่งคัดหลั่ง อวัยวะ หรือน้ำจากร่างกาย ผู้ติดเชื้อ งานศพ ญาติผู้เสียชีวิตที่สัมผัสร่างกายของผู้เสียชีวิต ผู้ดูแลลิงชิมแปนซี กอริลลาที่ป่วย และเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ที่รักษาผู้ป่วยอีโบลา โดยไม่ป้องกัน ระยะแพร่เชื้อ ตั้งแต่เริ่มมีไข้ และตลอดระยะที่มีอาการ ระยะฟักตัว 2-21 วัน โรคนี้ พบได้ทุกกลุ่มอายุ อาการ ไข้สูงเฉียบพลัน อ่อนเพลีย ปวดกล้ามเนื้อ ปวดศีรษะ เจ็บคอ ตามด้วยอาการท้องเสีย อาเจียน ผื่น ไตและตับไม่ทำงาน บางรายมีเลือดออกทั้งภายในและภายนอก ตรวจเลือดพบเม็ดเลือดขาวต่ำ

การควบคุมโรค 1.แยกผู้ป่วย และเน้นมาตรการป้องกันโรคอย่างเข้มงวด 2.ติดตามผู้สัมผัสทั้งหมด รวมทั้งผู้ที่อาจจะสัมผัสกับผู้สัมผัสใกล้ชิด โดยต้องตรวจอุณหภูมิร่างกายวันละ 2 ครั้ง เมื่อมีไข้ต้องรีบมาโรงพยาบาล และเข้าห้องแยกทันที 3.เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลทุกคน ต้องมีการแจ้ง/บอกให้ทราบถึงโรค และการติดต่อ เน้นวิธีการป้องกันขณะดูแลผู้ป่วย และการจัดการเลือด สิ่งคัดหลั่งจากผู้ป่วย

แบบสำรวจวัสดุอุปกรณ์ป้องกันตนเองเตรียมความพร้อมรับโรคติดต่ออันตราย ลำดับที่ รายการ หน่วยนับ รพ. เลย นาด้วง เชียงคาน ปากชม ด่านซ้าย นาแห้ว ภูเรือ ท่าลี่ วังสะพุง ภูกระดึง ภูหลวง ผาขาว เอราวัณ หนองหิน 1 หน้ากากอนามัย ชิ้น 13,550 350 2043   1500 300 77800 1000 200 2000 111 900 2 หน้ากาก N- 95 440 136 40 36 100 240 14 80 73 49 3 แว่นตา อัน 285 5 10 16 25 4 20 30 26 9 กระบังหน้าเลนส์ใส 134 12 13 ชุดป้องกัน(ชุดหมี) ชุด 78 22 17 15 6 กาวน์กันน้ำชนิดนำมาใช้ใหม่ได้ 7 ถุงมือยาง คู่ 120 1800 2550 38 8 รองเท้าบูท ถุงหุ้มเท้า หมายเหตุ เกณฑ์ขั้นต่ำวัสดุอุปกรณ์สำหรับ รพ. รพท. รพช.60 เตียงขึ้นไป รพช.ต่ำกว่า 60 เตียง หน้ากาก N-95 50 กาวน์กันน้ำนำมาใช้ใหม่ได้

แบบสำรวจคงคลังวัสดุอุปกรณ์ป้องกันตนเองเตรียมความพร้อมรับโรคติดต่ออันตราย ลำดับที่ รายการ หน่วยนับ สสอ. เมือง นาด้วง เชียงคาน ปากชม ด่านซ้าย นาแห้ว ภูเรือ ท่าลี่ วังสะพุง ภูกระดึง ภูหลวง ผาขาว เอราวัณ หนองหิน 1 หน้ากากอนามัย ชิ้น   40 1750 2000 50 200 2 หน้ากาก N- 95 20 10 44 18 80 3 แว่นตา อัน 24 12 4 กระบังหน้าเลนส์ใส 5 ชุดป้องกัน(ชุดหมี) ชุด 15 16 11 6 กาวน์กันน้ำชนิดนำมาใช้ใหม่ได้ 7 ถุงมือยาง คู่ 100 17 8 รองเท้าบูท 9 ถุงหุ้มเท้า หมายเหตุ อำเภอที่ไม่ลงข้อมูลหมายถึงสำรองคงคลังร่วมกันกับโรงพยาบาล

โครงการเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตน ราชสุดา ในวโรกาสเจริญพระชนมายุ ครบ 60 พรรษา เพื่อคุ้มครองคนไทยจากโรคร้ายด้วยวัคซีน เป้าหมายของโครงการ ความครอบคลุมวัคซีน dT ในประชากร อายุ 20-50 ปี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85

นโยบายการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค คุ้มครองจากโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน เป็นบริการสาธารณสุขพื้นฐาน เป็นสิทธิของเด็กและประชาชน ให้ความเสมอภาคในบริการ รัฐให้บริการโดยไม่คิดมูลค่า รักษาคุณภาพและความปลอดภัยของบริการ

ปัญหาที่พบในการให้วัคซีน dT จังหวัดเลย ประชาชนออกไปทำงานในช่วงกลางวัน ไม่สอดคล้องกับเวลาปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ฯ 2. กลุ่มเป้าหมายปฏิเสธการรับวัคซีน กลัวเจ็บ

เป้าหมายการรณรงค์ให้วัคซีน dTจังหวัดเลย เป้าหมายหมายโครงการ Coverage ≥ 85 % รายตำบล เป้าหมายของจังหวัด Coverage 100 % (นพ.สสจ.วันที่ 25 สค. 57) ● ต.ค 2557 สัปดาห์ที่ 1 Coverage 30 % ● ต.ค 2557 สัปดาห์ที่ 2 Coverage 50 % ● ต.ค 2557 สัปดาห์ที่ 3 Coverage 70 % ● ต.ค 2557 สัปดาห์ที่ 4 Coverage 85 % ● พ.ย 2557 สัปดาห์ที่ 1–4 Coverage ≥90 %

การดำเนินงาน ● จัดบริการเชิงรุกทุกรูปแบบตามบริบทพื้นที่ ● แจกยา Para แก่ผู้มารับวัคซีน ● ประสานภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องร่วมดำเนินการ ● ส่งรายงานให้จังหวัดทุกวันจันทร์ เพื่อติดตามความก้าวหน้า ● ประชุมปรึกษาหารือกันเป็นระยะๆ หากผลงาน ไม่ได้ตามเป้าหมาย ● อำเภอ/จังหวัดเยี่ยมติดตาม ในพื้นที่ ที่ผลงานต่ำกว่าเป้าหมาย

การดำเนินงาน ● หากพบอาการข้างเคียงหลังรับวัคซีน ให้การดูแลช่วยเหลือเบื้องต้นโดยเร็ว และรายงานตามระบบ

ประเด็นงาน EPI พื้นฐาน

ปัญหาที่พบงาน EPI จังหวัดเลย ยังพบเด็กรับวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์ สาเหตุส่วนใหญ่ * เด็กติดตามผู้ปกครองไปทำงานในที่ต่าง ๆ ผู้ปกครองลืมนัด / การติดตามไม่ต่อเนื่อง / เด็กตกหล่น หรือย้ายมาใหม่ จึงไม่มีชื่อในทะเบียนกลุ่มเป้าหมาย 2. การบันทึกข้อมูลในฐาน 21 แฟ้ม ยังไม่ครบถ้วน เป็นปัจจุบัน

จุดเน้น EPI จังหวัดเลย ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนพื้นฐานของกลุ่มเป้าหมาย(เด็ก 0-5 ปี ,นักเรียน,หญิงมีครรภ์) ● หน่วยบริการฯ มีระบบการติดตามเข็มแข็งต่อเนื่อง ● ให้หน่วยบริการทุกแห่ง จัดทำข้อมูลวัคซีน ให้ครบถ้วน ถูกต้อง เป็นปัจจุบัน ภายใน 30 ก.ย 2557

จุดเน้น EPI จังหวัดเลย 2. ให้บริการตามมาตรฐานการสร้างเสริม ภูมิคุ้มกันโรค ● ระบบลูกโซ่ความเย็น - บันทึกอุณหภูมิตู้เย็นเก็บวัคซีนสม่ำเสมอทุกวัน - จัดเก็บวัคซีนในตู้เย็นให้ถูกต้อง ● เทคนิคการให้บริการ

จุดเน้น EPI จังหวัดเลย 3. อำเภอมีการนิเทศติดตามหน่วยบริการฯ เป็นระยะ ๆ