การบริหารกองทุน หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปี 2555

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
Advertisements

การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2556 งบค่าเสื่อม
การจัดสรรเงินเหมาจ่ายรายหัว สำหรับหน่วยบริการในสังกัด สป.สธ. 2556
การบริหารงบค่าเสื่อม 2557
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
ประกาศหลักเกณฑ์การบริหารกองทุนฯปี ๒๕๕๗
ระบบข้อมูลการป่วย ระบบงานที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลสาเหตุภายนอก ที่ทำให้บาดเจ็บ ระบบรายงาน ระบบฐานข้อมูลผู้ป่วยในรายบุคคล.
การอบรม อสม. รุ่น 2 เป้าหมาย อสม.รุ่น 1 - อสมช. ด้านโรคความดันโลหิตสูง
โครงการพัฒนาโรงพยาบาลราชบุรี บริการฉับไว ไร้ความแออัด
แนวทางการดำเนินงานในการคืนสิทธิขั้นพื้นฐาน
1 2 ตามลักษณะ เศรษฐกิจ งบประมา ณ ตาม พ. ร. บ. ( ล้าน บาท ) ได้รับ จัดสรร ( ล้าน บาท ) เบิกจ่าย ร้อย ละ / งบ จัดสร ร สำนัก ชลประทานที่ 13 1,164,64 0,305.
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
การดำเนินงานตำบลจัดการสุขภาพ ตำบลเขาซก อำเภอหนองใหญ่ ชลบุรี
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
ความคิดเห็นของข้าราชการเกี่ยวกับ สวัสดิการการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2546
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 25 มิถุนายน 2551.
การบริหารกองทุนสุขภาพตำบล
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 31 สิงหาคม 2551.
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
เป้าหมายสำคัญของแผนยุทธศาสตร์ ปี 56 แผนงาน เป้าหมาย
แนวทางการดำเนินงานและการสนับสนุนส่วนภูมิภาค ประจำปี 2550 แนวทางการดำเนินงานและการสนับสนุนส่วนภูมิภาค กรมการแพทย์
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
ภารกิจ อสม.งานประจำ/งานนโยบาย
น.พ. ศิริวัฒน์ ทิยพ์ธราดล
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
เป้าหมาย สตรีอายุ ปี 240,279 ผลงาน 65,541 (27.28 %) ผิดปกติ/ ส่งต่อ
กองทุนสมทบ ค่าบริการการแพทย์แผนไทย
แนวทางการบริหารกองทุน ที่จ่ายตามเกณฑ์คุณภาพ ปีงบประมาณ 2552
1. เสือปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
พี่เลี้ยงการพัฒนา หน่วยบริการปฐมภูมิ
ค่าบริการแพทย์แผนไทยปีงบ 2556
ทิศทางการจัดสรร งบกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ประจำปี 2551
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
ผลงานเดือนเม.ย.-ธ.ค.56 ถึงเดือน ม.ค.57
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
แนวทางการดำเนินงานผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ปี 2556
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ปี 2557
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
นพ.นิทัศน์ รายยวา 3 ตุลาคม 2556
การบริหารงบค่าเสื่อม ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ปีงบประมาณ 2555
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
National Health Security Office 1. Subject : งบกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ถึงปี 2554 จะประกอบด้วย 5 กองทุนย่อย 1.งบบริการทางการแพทย์ (งบเหมาจ่ายรายหัว)
กรอบการบริหารงบบริการ การแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2558
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ ปีงบประมาณ 2557
แนวทางการดำเนินงาน แผนงานสนับสนุนระบบบริการโรคไตวาย ปีงบประมาณ 2558
สรุปผลงานส่วนสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ประจำปีงบประมาณ พ. ศ โครงการรณรงค์ฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ประจำปี 2555 ระยะเวลาดำเนินการ วันที่ 1.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
การจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ และป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี
สาขาโรคมะเร็ง.
วาระประชุม กวป. งานแพทย์แผนไทย 2 ธ.ค โดย วัชรี แก้วสา
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
แนวทางการจัดสรร งบค่าบริการแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2558
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน
ข้อมูลสารสนเทศและ การบริหารจัดการงบ P&P
แนวทางปฏิบัติในการขอรับค่าใช้จ่าย เพื่อบริการสาธารณสุข ปี 2551 ปี 2551 เอกสารหมายเลข 1.
แนวทางการบริหารงบค่าบริการ แพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2556 สมชาย ชินวา นิชย์เจริญ.
เกณฑ์การจัดสรร งบค่าบริการการแพทย์แผนไทย ปี 2555
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
สำนักวิเคราะห์งบประมาณส่วนภูมิภาคและท้องถิ่น
โรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช
รายงานการประเมินตนเอง 4.3 ช. การดูแลผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การบริหารกองทุน หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปี 2555 การบริหารกองทุน หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปี 2555 นพ.วีระวัฒน์ พันธ์ครุฑ รองเลขาธิการ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ การประชุมชี้แจง เรื่อง การบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2555 วันที่ 5-6 ตุลาคม 2554 ณ โรงแรมรามาการ์เด้น

คุณูปการของระบบหลักประกันสุขภาพ

1. คนรวย คนจน มีโอกาสเข้าถึงบริการสุขภาพได้ใกล้เคียงกัน ได้รับบริการที่มีคุณภาพใกล้เคียงกัน และมีความเป็นธรรมมากขึ้นกว่าเดิม

การดูแลและขยายความครอบคลุม สิทธิหลักประกันสุขภาพ จากการพัฒนาระบบฐานข้อมูลผู้มีสิทธิอย่างต่อเนื่องและเชื่อมโยงกันระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทำให้สิทธิหลักประกันสุขภาพมีความครอบคลุมถ้วนหน้า ถูกต้อง เป็นปัจจุบัน และได้รับสิทธิอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะเมื่อมีการเปลี่ยนสิทธิ

การดูแลและขยายความครอบคลุม สิทธิหลักประกันสุขภาพ (ต่อ) ดำเนินงานดูแลและขยายความครอบคลุมสิทธิด้านหลักประกันสุขภาพอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ประชาชนได้รับสิทธิขั้นพื้นฐานตามรัฐธรรมนูญ ครอบคลุมการมีสิทธิหลักประกันสุขภาพ และได้รับความคุ้มครองด้านสุขภาพอย่างเสมอภาค ดำเนินการเสนอต่อคณะรัฐมนตรี เพื่อให้สิทธิ (คืนสิทธิ) ขั้นพื้นฐานด้านสาธารณสุขกับบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิ จำนวน 457,409 คน และคณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติการให้สิทธิด้านสาธารณสุข ครอบคลุมทั้งการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค การรักษาพยาบาล การฟื้นฟูสภาพ แก่บุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิ ตั้งแต่ 1 เมษายน 2553

คนไทยไม่ต้องล้มละลาย ขายที่ดิน ขายบ้าน ขายวัวควาย เพราะการเจ็บป่วย คนไทยไม่ต้องล้มละลาย ขายที่ดิน ขายบ้าน ขายวัวควาย เพราะการเจ็บป่วย

การบริหารงบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพฯ อย่างมีประสิทธิภาพ การบริหารงบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพฯ อย่างมีประสิทธิภาพ ที่มา : สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ อาจกล่าวได้ว่า การออกแบบและบริหารจัดการระบบประกันสุขภาพให้ครอบคลุมทั้งด้าน ‘ความกว้าง’ (จำนวนประชากรที่ได้รับหลักประกันให้เข้าถึงบริการสุขภาพ) และ ‘ความลึก’ (ได้รับบริการในสถานพยาบาลใกล้บ้านโดยไม่มีค่าใช้จ่าย) มีความสำคัญต่อการปกป้องครัวเรือนมิให้ยากจนลงเนื่องจากภาระรายจ่ายด้านสุขภาพ นับเป็นแบบอย่างที่ดีต่อการออกแบบระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในประเทศกำลังพัฒนาอื่นๆ

แผนภูมิ ร้อยละของรายจ่ายด้านสุขภาพต่อรายได้ จำแนกตามกลุ่มเดไซล์ ของรายได้ครัวเรือน พ.ศ. 2535-2552 หมายเหตุ : 1) ข้อมูลการสำรวจปี 2535-2549, 2552 คำนวณจากอัตราส่วนระหว่าง รายจ่ายด้านสุขภาพต่อรายได้ ของครัวเรือน 2) ข้อมูล ปี 2551 คำนวณจากอัตราส่วนระหว่าง รายจ่ายด้านสุขภาพต่อรายจ่ายทั้งหมดของครัวเรือน ที่มา : สุพล ลิมวัฒนานนท์ วิเคราะห์จากข้อมูลการสำรวจของสำนักงานสถิติแห่งชาติ 2535-2552

3. สามารถประหยัดงบประมาณในการจัดซื้อยา วัสดุการแพทย์และค่าใช้จ่ายอื่นกว่า 4,000 ล้านบาท /ปี (ข้อมูลปี 2553)

ความต้องการใช้น้ำยา CAPD (ถุง) ปีงบ ประมาณ จำนวน ผู้ป่วย ความต้องการใช้น้ำยา CAPD (ถุง) ราคาจำหน่าย ราคาที่ซื้อได้ จำนวนเงินประหยัดได้ ร้อยละประหยัดได้ 2552 3,369 2,393,875 478,775,000 251,356,875 227,418,125 48% 2553 6,136 6,735,452 1,347,090,400 707,222,460 639,867,940 2554 8,745 9,966,330 1,993,266,000 1,046,464,650 946,801,350 รวม 19,095,657 3,819,131,400 2,005,043,985 1,814,087,415 จำนวนผู้ป่วยที่รับบริการในแต่ละปีงบประมาณจะใช้ยอดคงเหลือตามทะเบียน ซึ่งสำหรับถ้าใช้ตัวเลขผู้ที่เคยรับน้ำยาจริง(รวมทั้งผู้ที่เสียชีวิตไปแล้ว และผู้ที่เปลี่ยน Mode ไปแล้ว) ปี 2552 จะเป็น 3,466 คน และ ปี 2553 ยอด 9 เดือนจะเป็น 6,097 คน ยอดการใช้น้ำยา เป็นยอดความต้องการของผู้ป่วยที่บันทึกผ่านระบบ DMIS ราคาจำหน่ายประมาณ 200 บาทต่อถุง ราคาที่ สปสช.ซื้อ 105 บาทต่อถุง

การบริหารสายสวนหัวใจในระบบ Vendor managed inventory (VMI) การบริหารงบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพฯ อย่างมีประสิทธิภาพ : การประหยัดงบประมาณ การบริหารสายสวนหัวใจในระบบ Vendor managed inventory (VMI) ข้อมูลตั้งแต่ ธ.ค.52-ต.ค.53

ราคาค่าเลนส์ที่เบิกจ่าย (บาท/ชิ้น) การบริหารงบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพฯ อย่างมีประสิทธิภาพ (ต่อ): การประหยัดงบประมาณ การประหยัดค่าเลนส์แก้วตาเทียม (1 ธ.ค.53 – เม.ย.54) สปสช.สามารถประหยัดงบประมาณได้ทั้งสิ้น 126.8 ล้านบาท รายการ ราคาค่าเลนส์ที่เบิกจ่าย (บาท/ชิ้น) ประกันสังคม สวัสดิการข้าราชการ สปสช. เลนส์แก้วตาเทียมชนิดพับได้ 4,000 6,000 700 เลนส์แก้วตาเทียมชนิดแข็งพับไม่ได้ 2,800 การบริหารจัดการ รพ.จัดหาเองและนำใบเสร็จมาเบิก 1) ให้องค์การเภสัชกรรมจัดซื้อ รวมและส่งให้ รพ. 2) ให้ รพ.จัดซื้อเองและเบิกได้ ตามราคาที่กำหนด

4. คิวรอผ่าตัดโรคหัวใจ สลายนิ่ว และผ่าตัดต้อกระจกระยะเวลา สั้นลงไปกว่าเดิมมาก และค่าใช้จ่ายก็ถูกลง

ระยะเวลาการรอคอย (วัน) แสดงระยะเวลาการรอคอยการผ่าตัดหัวใจ ของผู้ป่วยในโรงพยาบาลต่างๆ ใน 3 ภูมิภาค โรงพยาบาล ระยะเวลาการรอคอย (วัน) จำนวนผู้ป่วย/เดือน ก.ค.-ส.ค 49 ก.ค.- ส.ค. 49 ก.ค.–ส.ค. 50 ก.ค.-ส.ค. 50 เชียงใหม่ 166 82 199 90 ศรีนครินทร์ 66 37 119 35 สงขลานครินทร์ 160 30 147

ข้อมูลจากฐานข้อมูลผู้ป่วยใน UC ณ วันที่ 25 พฤศจิกายน 2553

ผลงานบริการนิ่ว ปี 2554 (8 เดือน) ข้อมูล ทั้งหมด การผ่าตัด (class1) การส่องกล้อง (class2) การสลายนิ่ว (class3) จำนวนครั้ง ที่ให้บริการ 31,447 (18%) 5,773 (11%) 3,334 (71%) 22,340 จำนวนผู้ป่วย 30,395 5,757 3,329 21,426 ยอดเบิก 580,278,290 179,056,809 58,908,029 342,313,451 ยอดจ่ายชดเชย 311,720,418 (46%) 142,801,349 (17%) 52,946,069 (37%) 115,973,000 ร้อยละการจ่ายเทียบเรียกเก็บ ปี 2554 (8เดือน) =64% ***ไม่รวมยอดเบิกของรพ.นายแพทย์หาญ และรพ.ธีรวัฒน์***

จำนวนผ่าตัดCataract ปี 2550-2554 (ราย) หมายเหตุ; ปี54รวมบริการเชิงรุก เข้าในบริการปกติ ข้อมูลบริการ 9 เดือน (ตค.53- มิ.ย.54) ยอดรวม 2 ระบบ 117,926 118,066 111,701 123,636 62,559

Summary ก่อนปี 2550 การผ่าตัด Cataract < 50,000 ราย/ปี สัดส่วนการใช้เลนส์นิ่มในผู้ป่วย UC< 20% ปี 2550-54 (สปสช. สนับสนุนบริการเชิงรุก/ปรับPayment) จำนวนผ่าตัดในระบบปกติเพิ่มขึ้น>100% สัดส่วนการใช้เลนส์นิ่มในผู้ป่วย UC>50% Save งบค่าเลนส์จากปี 51/54 ลดลง 2,014 บาท/ชิ้น หรือ>100 ลบ./ปี

5. ส่งเสริมการพัฒนาระบบบริการ ปฐมภูมิ การให้บริการใกล้บ้าน ใกล้ใจ และสามารถลดความแออัดของโรงพยาบาลลงได้ (ในบางพื้นที่)

1) ร้อยละหน่วยบริการปฐมภูมิที่ผ่านเกณฑ์ขึ้นทะเบียน สปสช. ด้านโครงสร้างและศักยภาพหน่วยบริการปฐมภูมิ 1) ร้อยละหน่วยบริการปฐมภูมิที่ผ่านเกณฑ์ขึ้นทะเบียน สปสช. ที่มา : ข้อมูลจากศูนย์ทะเบียน สปสช.

2) หน่วยบริการปฐมภูมิที่ได้รับงบ Ontop ปี 2553-2554 ด้านโครงสร้างและศักยภาพหน่วยบริการปฐมภูมิ(ต่อ) 2) หน่วยบริการปฐมภูมิที่ได้รับงบ Ontop ปี 2553-2554 84แห่ง(0.74%) 80แห่ง(0.70%) 6,284แห่ง (55.61%) 4,464แห่ง (39.59%)

6. ให้ความสำคัญกับงานสร้างเสริมสุขภาพในทุกระดับ มีการแยกงบประมาณสนับสนุนกิจกรรมด้านนี้แยกเฉพาะ มีกิจกรรม ตรวจคัดกรอง ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และจัดตั้งกองทุนสร้างเสริมสุขภาพระดับพื้นที่ในแทบทุกตำบล

การขยายกองทุนฯ ปี 49-50 อบต.หรือเทศบาลนำร่องอำเภอละแห่งรวม 888 แห่ง ปี 2551 อบต.หรือเทศบาลเข้าร่วม 2,689 แห่งหรือ 34.6% ดูแล ปชก. 20 ล้านคน เงินสมทบ 174 ลบ.หรือ 23.2% ของงบที่ สปสช.โอนให้ จน. 752.6 ลบ. ปี 2552 อบต.หรือเทศบาลเข้าร่วม 3,935 แห่งหรือ 51% ดูแล ปชก. 28.6 ล้านคน เงินสมทบ 341 ลบ. หรือ 32% ของงบที่ สปสช.โอนเงินให้ จน.1,072.3 ลบ. ปี 2553 อบต.หรือเทศบาลเข้าร่วม 5,508 แห่ง หรือ 71% ดูแล ปชก. 39.6 ล้านคน เงินสมทบ 566 ลบ.หรือ 36% ของงบที่ สปสช. โอนให้จน.1,582.9 ลบ. ปี 2554 อบต.หรือเทศบาลเข้าร่วม 7,425 แห่ง หรือ 96% ดูแล ปชก. 52 ล้านคน สปสช. โอนงบให้ 2,076 ลบ. เพื่อ อบต. เทศบาล สมทบงบตามเกณฑ์ต่อไป

ร้อยละของการสมทบเงินเข้ากองทุนหลักประกันสุขภาพ ภาพรวม ปีงบประมาณ 2549-2554 ค่าบริการจาก สปสช. 4,798 ล้านบาท อุดหนุนจาก อบต./เทศบาล 1,627 ล้านบาท สมทบจากชุมชน 23 ล้านบาท ดอกเบี้ยเงินฝาก 17 ล้านบาท อื่น ๆ 95 ล้านบาท รวม 6,561 ล้านบาท 24

ผลการดำเนินงานตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ปีงบประมาณ 2553-2554 (2 ไตรมาส) 2554 (2ไตรมาส) ปชก.หญิง อายุ 30-60 ปี (ณ กค.) 16,070,410 15,197,565  ผลการดำเนินงาน 2,195,889 536,736 % เทียบPOP 13.66% 3.53% ผลงานสะสมเทียบ POP 17.98% แหล่งข้อมูล : โปรแกรม Pap Registry สถาบันมะเร็งแห่งชาติ หมายเหตุ : ปี 2549-2552 กำหนดกลุ่มเป้าหมายสตรีอายุ 35,40,45,50,55และ 60 ปี ปี 2553-2554 กำหนดสตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30-60 ปี 25

7. สนับสนุนการพัฒนาแพทย์แผนไทย ในเรื่องการนวดไทย การอบ ประคบ การทับหม้อเกลือในหญิงหลังคลอด การใช้ยาสมุนไพรในเวชปฏิบัติ และการพัฒนาบุคลากรในสาขาด้านนี้

งบประมาณที่ได้รับจัดสรร จำแนกตามปีงบประมาณ จำนวนเงิน(ล้านบาท) 0.5บาท/ปชก. 1บาท/ปชก. 1บาท/ปชก. 2บาท/ปชก. 6บาท/ปชก. 7.57บาท/ปชก.

หน่วยบริการประจำที่ให้บริการนวดไทย ภาพรวมทั้งประเทศ

จำนวนผู้รับบริการและจำนวนครั้งที่รับบริการนวดไทย

สนับสนุนการใช้ยาจากสมุนไพร ในบัญชียาหลักแห่งชาติ สนับสนุนการใช้ยาจากสมุนไพร ในบัญชียาหลักแห่งชาติ (71 รายการ)

8. สนับสนุนการดูแลผู้พิการ ทั้งในระบบบริการด้านการแพทย์ ในชุมชน และการฟื้นฟูคุณภาพชีวิตประจำวัน รวมทั้งการจัดตั้ง กองทุนผู้พิการในระดับจังหวัด

สถานการณ์คนพิการในระบบหลักประกันสุขภาพ จำแนกรายเขต ณ 1 ก. ค สถานการณ์คนพิการในระบบหลักประกันสุขภาพ จำแนกรายเขต ณ 1 ก.ค.2554 (ยอดรวมสะสม 803,157 คน) ประเภทความพิการ ร้อยละ การเคลื่อนไหว 45.81 การได้ยิน 17.93 จิตใจและพฤติกรรม 13.11 สติปัญญา 11.72 การมองเห็น 11.06 การเรียนรู้ 0.38 รวม 100 ที่มา : ศูนย์บริการสารสนเทศการประกันสุขภาพ

จำนวนคนพิการแยกตามประเภทความพิการ จำแนกรายเขต ที่มา : ศูนย์บริการสารสนเทศการประกันสุขภาพ ข้อมูล ณ 1 กรกฎาคม 2554

การสนับสนุนอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการ ปี 2554 (ต.ค.53–มิ.ย.54) ที่มา : โปรแกรมรายงานอุปกรณ์และบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ

9. มีระบบพัฒนางานมิตรภาพบำบัด เพื่อนช่วยเพื่อน และจิตอาสาทั้งในและนอกสถานบริการ ซึ่งนำไปสู่การให้บริการที่เน้นหัวใจ ของความเป็นมนุษย์ และสัมพันธภาพที่ดีระหว่างผู้ให้บริการและผู้รับบริการ

ความเป็นมา “มิตรภาพบำบัด”” 2549-50 : เริ่ม Pilot project ศูนย์ส่งเสริมมิตรภาพบำบัด ในหน่วยบริการทั้งหมด 35 แห่ง/โครงการ (ส่วนใหญ่เริ่มจาก ศูนย์มะเร็ง / รพศ. / รพม.) : มีการประเมินผล การดำเนินงานโครงการฯ “ผลลัพธ์ดี” : ขยายผลการดำเนินงานไปยัง รพ.ทุกระดับอีก 139 แห่ง : มีหน่วยบริการร่วมดำเนินงาน 165 แห่ง และมี รพ. ร่วมพัฒนาเครือข่ายโรคหัวใจ 33 แห่ง : กำหนดเป้าหมายเพิ่มศูนย์มิตรภาพบำบัด เพิ่มเป็น 245 แห่ง และพัฒนาเครือข่ายโรคหัวใจเพิ่มอีก 10 แห่ง รวม 43 แห่ง 36

การมีส่วนร่วมภาคประชาชน :เพื่อนช่วยเพื่อน-อาสาสมัคร-ดูแลกันเอง รพ. ภูมิพลอดุลยเดช รพ.มหาราชนครราชสีมา รพ สกลนคร 37

10. มีการจ่ายเงินช่วยเหลือเบื้องต้น ให้กับผู้ป่วยที่ได้รับความเสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข (มาตรา 41 พรบ.หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ) และช่วยเหลือให้กับแพทย์พยาบาล และเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ที่ได้รับความเสียหายจากการให้บริการ

การคุ้มครองสิทธิผู้รับบริการและผู้ให้บริการ

ผลการพิจารณาจ่ายเงินช่วยเหลือเบื้องต้น กรณีผู้ให้บริการ ราย

ผลการพิจารณาจ่ายเงินช่วยเหลือ ม.41 กรณีผู้รับบริการ ผลการพิจารณาจ่ายเงินช่วยเหลือ ม.41 กรณีผู้รับบริการ ราย

ลดความแออัดในโรงพยาบาล

ขอบคุณครับ