บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา Personal Income Tax
Advertisements

การคำนวณกระแสเงินสด คำนวณกระแสเงินสดเพื่อใช้ประเมินโครงการลงทุน (Capital budgeting)
ค่าของทุน The Cost of Capital
สำนักวิชาบัญชี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
สถาบันคุ้มครองเงินฝาก 21 สิงหาคม 2551
การวิเคราะห์งบการเงิน
บทที่ 6 ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์
คณิตศาสตร์สำหรับการคิดภาระภาษี
การเลือกคุณภาพสินค้า
บทที่ 8 โครงสร้างเงินทุน
การจัดการเงินทุนหมุนเวียน
บทที่ 10 งบประมาณลงทุน.
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
บทที่ 10 งบประมาณลงทุน.
บทที่ 3 การเปลี่ยนแปลงในส่วนของ ผู้เป็นหุ้นส่วน
สินทรัพย์หมุนเวียน-สินค้า เงินสด+หลักทรัพย์+ลูกหนี้
เกมธุรกิจแห่งชาติ ตัวชี้วัด น้ำหนัก 1 ยอดขาย 10% 2 กำไร 40% 3 ROE 15%
ฝึกคำนวณค่าโทรศัพท์มือถือ
สถานการณ์การเงินที่อยู่อาศัย
การวางแผน ธุรกิจ เป็นกระบวนการ บริหารจัดการทาง การเงินที่สำคัญของ คณะกรรมการกองทุน หมู่บ้าน.
Lesson 11 Price.
บทที่ 6 โปรแกรมเชิงเส้น Linear Programming
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ
การเปิดเผยข้อมูลและ นโยบายการบัญชี
บทที่ 1 อัตราส่วน.
บทที่ 3 ร้อยละ ร้อยละ หรือ เปอร์เซ็นต์ หมายถึง เศษส่วนหรืออัตราส่วนที่มีจำนวนหลังเป็น 100 เขียนแทนร้อยละ หรือเปอร์เซ็นต์ ด้วยสัญลักษณ์ %
Chapter 3 การกำหนดราคามุ่งที่ต้นทุน
หนี้สงสัยจะสูญและหนี้สูญ
MARKET PLANNING DECISION
บทที่ 4 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
บทที่ 4 งบการเงิน.
ระบบบัญชีเดี่ยว.
บทที่ 6 การบัญชีสำหรับกิจการซื้อ-ขายสินค้า
งบลงทุน Capital Budgeting
โครงสร้างต้นทุนการผลิตและราคาขาย ณ โรงงานสุรา (สุรากลั่นชุมชน)
เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับการจัดเก็บภาษีสุรา
ก. จำนวนครั้งที่สั่งซื้อสบู่ ข. ค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อต่อเดือน
Financial Management.
เป้าประสงค์ คิดคำนวณกำไร – ขาดทุนจากการประกอบอาชีพ
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 25 มิถุนายน 2551.
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 31 มีนาคม 2551.
การวิเคราะห์สถานการณ์การเงินการคลัง
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 31 สิงหาคม 2551.
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 31 มกราคม 2551.
การ บริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2552 รพ. บ้านลาด ณ 30 เมษายน 2552.
การเงินธุรกิจ BUSINESS FINANCE
การคำนวณค่าไฟฟ้า.
การวิเคราะห์ผลตอบแทนการลงทุน
1 รายงานสถานะกองทุน และผลการดำเนินงาน กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ซึ่งจดทะเบียนแล้ว.
การวางแผนกำไร (Profit Planning)
การวิเคราะห์ทางการเงิน (Financial Analysis)
หน่วยที่ 4 รายการปรับปรุงและงบทดลอง หลังรายการปรับปรุง
ตัวอย่างการพยากรณ์ยอดขาย
การบัญชีเกี่ยวกับตั๋วขาดความเชื่อถือ
ลักษณะสำคัญของการซื้อขายล่วงหน้า
การใช้ CAPM ประมาณการต้นทุนของเงินทุน
Chapter 11 ต้นทุนของเงินทุน
บทที่ 13 การบริการลูกค้าในการค้าปลีก
ระบบบัญชีเดี่ยวและสินค้า
การวิเคราะห์เชิงเศรษฐศาสตร์ ของกระแสเงินหลังหักภาษี
หน้าที่ของกรมธรรม์ประกันชีวิต (สัญญาหลัก)
2.3 การเสนอตัวอย่างการคำนวณเบี้ยประกัน
Risk Management Asst.Prof. Dr.Ravi.
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
วิชาการบัญชีสินค้าและระบบบัญชีเดี่ยว
การคำนวณภาษีสรรพสามิต
การรวมธุรกิจ.
การปลด cap วงเงิน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้

การเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขสินเชื่อ (ลูกหนี้)

การพิจารณาเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขการให้เครดิต ตัวอย่างที่ 2 บริษัทแห่งหนึ่งขายสินค้าหน่วยละ 8 บาท ต้นทุนผันแปรหน่วยละ 5 บาท ต้นทุนคงที่รวม 15,000 บาท ยอดขายรวมปีละ 120,000 บาท บริษัทนี้ต้องการเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขการให้เครดิตจากเดิม n/45 เป็น 2/10,n/30 โดยคาดว่าจะมีลูกหนี้ถึง 60% มาชำระหนี้เพื่อเอาส่วนลด ทำให้ระยะเวลาเรียกเก็บหนี้ลดลงจาก 45 วัน เหลือ 30 วัน (บริษัทกำหนดอัตราผลตอบแทนจากการลงทุน 20%)

การพิจารณาเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขการให้เครดิต ตัวอย่างที่ 2 การคำนวณการเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขการให้เครดิต วิธีคำนวณ ขั้นที่ 1 คำนวณหาผลตอบแทนจากการลงทุนที่เปลี่ยนแปลง ผลตอบแทนที่เปลี่ยนแปลง = เงินลงทุนที่เปลี่ยนแปลง X ผลตอบแทนจากการลงทุน

อัตราการหมุนของลูกหนี้ การพิจารณาเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขการให้เครดิต ขั้นที่ 1 คำนวณหาผลตอบแทนจากการลงทุนที่เปลี่ยนแปลง (ต่อ) ขายเชื่อ อัตราการหมุนของลูกหนี้ ลูกหนี้ถัวเฉลี่ย = นโยบายเดิม 360 วัน (1ปี) ÷ 45 วัน 120,000 บาท 8 ครั้งต่อปี

อัตราการหมุนของลูกหนี้ การพิจารณาเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขการให้เครดิต ขั้นที่ 1 คำนวณหาผลตอบแทนจากการลงทุนที่เปลี่ยนแปลง (ต่อ) ขายเชื่อ อัตราการหมุนของลูกหนี้ ลูกหนี้ถัวเฉลี่ย = นโยบายเดิม 120,000 บาท 15,000 บาท = 8 ครั้งต่อปี

อัตราการหมุนของลูกหนี้ การพิจารณาเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขการให้เครดิต ขั้นที่ 1 คำนวณหาผลตอบแทนจากการลงทุนที่เปลี่ยนแปลง (ต่อ) ขายเชื่อ อัตราการหมุนของลูกหนี้ ลูกหนี้ถัวเฉลี่ย = นโยบายใหม่ 360 วัน (1ปี) ÷ 30 วัน 120,000 บาท 12 ครั้งต่อปี

อัตราการหมุนของลูกหนี้ การพิจารณาเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขการให้เครดิต ขั้นที่ 1 คำนวณหาผลตอบแทนจากการลงทุนที่เปลี่ยนแปลง (ต่อ) ขายเชื่อ อัตราการหมุนของลูกหนี้ ลูกหนี้ถัวเฉลี่ย = นโยบายใหม่ 120,000 บาท 10,000 บาท = 12 ครั้งต่อปี

วิธีการคำนวณหา ต้นทุนรวมต่อหน่วย

ยอดขายเท่ากับกี่หน่วย ? ยอดขาย = 120,000 บาท ราคาขายต่อหน่วย = 8 บาท ยอดขายเท่ากับกี่หน่วย ? 120,000 บาท ÷ 8 บาท = 15,000 หน่วย

ต้นทุนผันแปร ต่อ หน่วย (V/น) = 5 บาท ต้นทุนคงที่ = 15,000 บาท ยอดขาย 15,000 หน่วย

การหาต้นทุนคงที่ ต่อหน่วย ต้นทุนคงที่ (รวม) ÷ จำนวนหน่วยขาย 15,000 บาท ÷ 15,000 หน่วย = 1 บาท/หน่วย

ต้นทุนรวม ต่อหน่วย คือ ต้นทุนผันแปร + ต้นทุนคงที่ 5 + 1 = 6 บาท ต่อ หน่วย

ลูกหนี้ถัวเฉลี่ย X ต้นทุนรวมต่อหน่วย การพิจารณาเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขการให้เครดิต ขั้นที่ 1 คำนวณหาผลตอบแทนจากการลงทุนที่เปลี่ยนแปลง (ต่อ) ลูกหนี้ถัวเฉลี่ย X ต้นทุนรวมต่อหน่วย ราคาขายต่อหน่วย เงินลงทุนในลูกหนี้ = นโยบายเดิม 15,000 X 6 11,250 บาท = 8

ลูกหนี้ถัวเฉลี่ย X ต้นทุนรวมต่อหน่วย การพิจารณาเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขการให้เครดิต ขั้นที่ 1 คำนวณหาผลตอบแทนจากการลงทุนที่เปลี่ยนแปลง (ต่อ) ลูกหนี้ถัวเฉลี่ย X ต้นทุนรวมต่อหน่วย ราคาขายต่อหน่วย เงินลงทุนในลูกหนี้ = นโยบายใหม่ 10,000 X 6 7,500 บาท = 8

การพิจารณาเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขการให้เครดิต ขั้นที่ 1 คำนวณหาผลตอบแทนจากการลงทุนที่เปลี่ยนแปลง (ต่อ) เปลี่ยนแปลงของเงินลงทุนในลูกหนี้ลดลง = นโยบายเดิม - นโยบายใหม่ = 11,250 – 7,500 = 3,750 บาท

การพิจารณาเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขการให้เครดิต ขั้นที่ 1 คำนวณหาผลตอบแทนจากการลงทุนที่เปลี่ยนแปลง (ต่อ) ผลตอบแทนจากการเงินลงทุนที่ลดลง = 3,750 X 20% = 750 บาท

การพิจารณาเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขการให้เครดิต ขั้นที่ 2 คำนวณหารายจ่าย (ส่วนลดจ่าย) ส่วนลดจ่าย = ยอดลูกหนี้ที่ชำระ X อัตราส่วนลด = (120,000 X 60%) = 72,000 = 1,440 บาท X 2% X 2%

การพิจารณาเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขการให้เครดิต ขั้นที่ 3 เปรียบเทียบส่วนได้ (ข้อ 1) กับส่วนเสีย (ข้อ 2) ส่วนได้ = 750 บาท ส่วนเสีย = 1,440 บาท  จากการคำนวณจะเห็นได้ว่าเกิดส่วนเสียหรือรายจ่ายมากกว่าผลที่ได้รับ ดังนั้นควรงดการใช้เงื่อนไขใหม่

การพิจารณาเปลี่ยนแปลงยอดขาย ตัวอย่างที่ 3 (ข้อมูลจากตัวอย่างที่ 2) บริษัทแห่งหนึ่งขายสินค้าหน่วยละ 8 บาท ต้นทุนผันแปรหน่วยละ 5 บาท ต้นทุนคงที่รวม 15,000 บาท จากการกำหนดความเสี่ยงในหนี้สูญ 15,000 บาท ยอดขายรวมปีละ 120,000 บาท บริษัทฯ นี้ต้องการลดมาตรฐานของลูกหนี้และคาดว่ายอดขายจะเพิ่มขึ้นเป็น 140,000 บาท โดยราคาขายและต้นทุนคงเดิม หนี้สูญเพิ่มจากเดิม 2% เป็น 5% ให้พิจารณาว่าควรลดมาตรฐานของลูกหนี้หรือไม่

ยอดขาย เดิม จำนวน 120,000 บาท

ยอดขายเท่ากับกี่หน่วย ? ยอดขาย = 120,000 บาท ราคาขายต่อหน่วย = 8 บาท ยอดขายเท่ากับกี่หน่วย ? 120,000 บาท ÷ 8 บาท = 15,000 หน่วย

(15,000 หน่วย x 8 บาท) (15,000 หน่วย x 6 บาท) (120,000 บาท x 2%) นโยบายเดิม ยอดขาย 120,000 บาท หัก ต้นทุนขาย 90,000 บาท กำไรขั้นต้น 30,000 บาท หัก หนี้สูญ 2% 2,400 บาท กำไรก่อนหักภาษี 27,600 บาท (15,000 หน่วย x 8 บาท) (15,000 หน่วย x 6 บาท) (120,000 บาท x 2%)

ต้นทุนผันแปร ต่อ หน่วย (V/น) = 5 บาท ต้นทุนคงที่ = 15,000 บาท ยอดขาย 15,000 หน่วย

การหาต้นทุนคงที่ ต่อหน่วย ต้นทุนคงที่ (รวม) ÷ จำนวนหน่วยขาย 15,000 บาท ÷ 15,000 หน่วย = 1 บาทต่อหน่วย

ต้นทุนรวม ต่อหน่วย คือ ต้นทุนผันแปร + ต้นทุนคงที่ 5 + 1 = 6 บาท ต่อ หน่วย

ยอดขาย ใหม่ จำนวน 140,000 บาท

ยอดขายเท่ากับกี่หน่วย ? ยอดขาย = 140,000 บาท ราคาขายต่อหน่วย = 8 บาท ยอดขายเท่ากับกี่หน่วย ? 140,000 บาท ÷ 8 บาท = 17,500 หน่วย

ยอดขาย 140,000 บาท หัก ต้นทุนขาย 102,550 บาท (17,500 หน่วย x 8 บาท) นโยบายใหม่ ยอดขาย 140,000 บาท หัก ต้นทุนขาย 102,550 บาท กำไรขั้นต้น 37,450 บาท หัก หนี้สูญ 5% 7,000 บาท กำไรก่อนหักภาษี 30,450 บาท (17,500 หน่วย x 8 บาท) (17,500 หน่วย x 5.86 บาท) (140,000 บาท x 5%)

ต้นทุนผันแปร ต่อ หน่วย (V/น) = 5 บาท ต้นทุนคงที่ = 15,000 บาท ยอดขาย 17,500 หน่วย

การหาต้นทุนคงที่ ต่อหน่วย ต้นทุนคงที่ (รวม) ÷ จำนวนหน่วยขาย 15,000 บาท ÷ 17,500 หน่วย = 0.857 บาท/หน่วย

การหาต้นทุนคงที่ ต่อหน่วย ต้นทุนคงที่ (รวม) ÷ จำนวนหน่วยขาย 15,000 บาท ÷ 17,500 หน่วย = 0.86 บาท/หน่วย

ต้นทุนรวม ต่อหน่วย คือ ต้นทุนผันแปร + ต้นทุนคงที่ 5 + 0.86 = 5.86 บาท ต่อ หน่วย

 นโยบายเดิม = 27,600 บาท นโยบายใหม่ = 30,450 บาท การพิจารณาเปลี่ยนแปลงยอดขาย เปรียบเทียบ กำไรหลังก่อนภาษี ระหว่าง นโยบายเดิม และ นโยบายใหม่ นโยบายเดิม = 27,600 บาท นโยบายใหม่ = 30,450 บาท  ดังนั้น บริษัทฯ ตัดสินใจเปลี่ยนนโยบาย คือ ลดมาตรฐานของลูกหนี้ลง