บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
การเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขสินเชื่อ (ลูกหนี้)
การพิจารณาเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขการให้เครดิต ตัวอย่างที่ 2 บริษัทแห่งหนึ่งขายสินค้าหน่วยละ 8 บาท ต้นทุนผันแปรหน่วยละ 5 บาท ต้นทุนคงที่รวม 15,000 บาท ยอดขายรวมปีละ 120,000 บาท บริษัทนี้ต้องการเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขการให้เครดิตจากเดิม n/45 เป็น 2/10,n/30 โดยคาดว่าจะมีลูกหนี้ถึง 60% มาชำระหนี้เพื่อเอาส่วนลด ทำให้ระยะเวลาเรียกเก็บหนี้ลดลงจาก 45 วัน เหลือ 30 วัน (บริษัทกำหนดอัตราผลตอบแทนจากการลงทุน 20%)
การพิจารณาเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขการให้เครดิต ตัวอย่างที่ 2 การคำนวณการเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขการให้เครดิต วิธีคำนวณ ขั้นที่ 1 คำนวณหาผลตอบแทนจากการลงทุนที่เปลี่ยนแปลง ผลตอบแทนที่เปลี่ยนแปลง = เงินลงทุนที่เปลี่ยนแปลง X ผลตอบแทนจากการลงทุน
อัตราการหมุนของลูกหนี้ การพิจารณาเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขการให้เครดิต ขั้นที่ 1 คำนวณหาผลตอบแทนจากการลงทุนที่เปลี่ยนแปลง (ต่อ) ขายเชื่อ อัตราการหมุนของลูกหนี้ ลูกหนี้ถัวเฉลี่ย = นโยบายเดิม 360 วัน (1ปี) ÷ 45 วัน 120,000 บาท 8 ครั้งต่อปี
อัตราการหมุนของลูกหนี้ การพิจารณาเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขการให้เครดิต ขั้นที่ 1 คำนวณหาผลตอบแทนจากการลงทุนที่เปลี่ยนแปลง (ต่อ) ขายเชื่อ อัตราการหมุนของลูกหนี้ ลูกหนี้ถัวเฉลี่ย = นโยบายเดิม 120,000 บาท 15,000 บาท = 8 ครั้งต่อปี
อัตราการหมุนของลูกหนี้ การพิจารณาเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขการให้เครดิต ขั้นที่ 1 คำนวณหาผลตอบแทนจากการลงทุนที่เปลี่ยนแปลง (ต่อ) ขายเชื่อ อัตราการหมุนของลูกหนี้ ลูกหนี้ถัวเฉลี่ย = นโยบายใหม่ 360 วัน (1ปี) ÷ 30 วัน 120,000 บาท 12 ครั้งต่อปี
อัตราการหมุนของลูกหนี้ การพิจารณาเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขการให้เครดิต ขั้นที่ 1 คำนวณหาผลตอบแทนจากการลงทุนที่เปลี่ยนแปลง (ต่อ) ขายเชื่อ อัตราการหมุนของลูกหนี้ ลูกหนี้ถัวเฉลี่ย = นโยบายใหม่ 120,000 บาท 10,000 บาท = 12 ครั้งต่อปี
วิธีการคำนวณหา ต้นทุนรวมต่อหน่วย
ยอดขายเท่ากับกี่หน่วย ? ยอดขาย = 120,000 บาท ราคาขายต่อหน่วย = 8 บาท ยอดขายเท่ากับกี่หน่วย ? 120,000 บาท ÷ 8 บาท = 15,000 หน่วย
ต้นทุนผันแปร ต่อ หน่วย (V/น) = 5 บาท ต้นทุนคงที่ = 15,000 บาท ยอดขาย 15,000 หน่วย
การหาต้นทุนคงที่ ต่อหน่วย ต้นทุนคงที่ (รวม) ÷ จำนวนหน่วยขาย 15,000 บาท ÷ 15,000 หน่วย = 1 บาท/หน่วย
ต้นทุนรวม ต่อหน่วย คือ ต้นทุนผันแปร + ต้นทุนคงที่ 5 + 1 = 6 บาท ต่อ หน่วย
ลูกหนี้ถัวเฉลี่ย X ต้นทุนรวมต่อหน่วย การพิจารณาเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขการให้เครดิต ขั้นที่ 1 คำนวณหาผลตอบแทนจากการลงทุนที่เปลี่ยนแปลง (ต่อ) ลูกหนี้ถัวเฉลี่ย X ต้นทุนรวมต่อหน่วย ราคาขายต่อหน่วย เงินลงทุนในลูกหนี้ = นโยบายเดิม 15,000 X 6 11,250 บาท = 8
ลูกหนี้ถัวเฉลี่ย X ต้นทุนรวมต่อหน่วย การพิจารณาเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขการให้เครดิต ขั้นที่ 1 คำนวณหาผลตอบแทนจากการลงทุนที่เปลี่ยนแปลง (ต่อ) ลูกหนี้ถัวเฉลี่ย X ต้นทุนรวมต่อหน่วย ราคาขายต่อหน่วย เงินลงทุนในลูกหนี้ = นโยบายใหม่ 10,000 X 6 7,500 บาท = 8
การพิจารณาเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขการให้เครดิต ขั้นที่ 1 คำนวณหาผลตอบแทนจากการลงทุนที่เปลี่ยนแปลง (ต่อ) เปลี่ยนแปลงของเงินลงทุนในลูกหนี้ลดลง = นโยบายเดิม - นโยบายใหม่ = 11,250 – 7,500 = 3,750 บาท
การพิจารณาเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขการให้เครดิต ขั้นที่ 1 คำนวณหาผลตอบแทนจากการลงทุนที่เปลี่ยนแปลง (ต่อ) ผลตอบแทนจากการเงินลงทุนที่ลดลง = 3,750 X 20% = 750 บาท
การพิจารณาเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขการให้เครดิต ขั้นที่ 2 คำนวณหารายจ่าย (ส่วนลดจ่าย) ส่วนลดจ่าย = ยอดลูกหนี้ที่ชำระ X อัตราส่วนลด = (120,000 X 60%) = 72,000 = 1,440 บาท X 2% X 2%
การพิจารณาเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขการให้เครดิต ขั้นที่ 3 เปรียบเทียบส่วนได้ (ข้อ 1) กับส่วนเสีย (ข้อ 2) ส่วนได้ = 750 บาท ส่วนเสีย = 1,440 บาท จากการคำนวณจะเห็นได้ว่าเกิดส่วนเสียหรือรายจ่ายมากกว่าผลที่ได้รับ ดังนั้นควรงดการใช้เงื่อนไขใหม่
การพิจารณาเปลี่ยนแปลงยอดขาย ตัวอย่างที่ 3 (ข้อมูลจากตัวอย่างที่ 2) บริษัทแห่งหนึ่งขายสินค้าหน่วยละ 8 บาท ต้นทุนผันแปรหน่วยละ 5 บาท ต้นทุนคงที่รวม 15,000 บาท จากการกำหนดความเสี่ยงในหนี้สูญ 15,000 บาท ยอดขายรวมปีละ 120,000 บาท บริษัทฯ นี้ต้องการลดมาตรฐานของลูกหนี้และคาดว่ายอดขายจะเพิ่มขึ้นเป็น 140,000 บาท โดยราคาขายและต้นทุนคงเดิม หนี้สูญเพิ่มจากเดิม 2% เป็น 5% ให้พิจารณาว่าควรลดมาตรฐานของลูกหนี้หรือไม่
ยอดขาย เดิม จำนวน 120,000 บาท
ยอดขายเท่ากับกี่หน่วย ? ยอดขาย = 120,000 บาท ราคาขายต่อหน่วย = 8 บาท ยอดขายเท่ากับกี่หน่วย ? 120,000 บาท ÷ 8 บาท = 15,000 หน่วย
(15,000 หน่วย x 8 บาท) (15,000 หน่วย x 6 บาท) (120,000 บาท x 2%) นโยบายเดิม ยอดขาย 120,000 บาท หัก ต้นทุนขาย 90,000 บาท กำไรขั้นต้น 30,000 บาท หัก หนี้สูญ 2% 2,400 บาท กำไรก่อนหักภาษี 27,600 บาท (15,000 หน่วย x 8 บาท) (15,000 หน่วย x 6 บาท) (120,000 บาท x 2%)
ต้นทุนผันแปร ต่อ หน่วย (V/น) = 5 บาท ต้นทุนคงที่ = 15,000 บาท ยอดขาย 15,000 หน่วย
การหาต้นทุนคงที่ ต่อหน่วย ต้นทุนคงที่ (รวม) ÷ จำนวนหน่วยขาย 15,000 บาท ÷ 15,000 หน่วย = 1 บาทต่อหน่วย
ต้นทุนรวม ต่อหน่วย คือ ต้นทุนผันแปร + ต้นทุนคงที่ 5 + 1 = 6 บาท ต่อ หน่วย
ยอดขาย ใหม่ จำนวน 140,000 บาท
ยอดขายเท่ากับกี่หน่วย ? ยอดขาย = 140,000 บาท ราคาขายต่อหน่วย = 8 บาท ยอดขายเท่ากับกี่หน่วย ? 140,000 บาท ÷ 8 บาท = 17,500 หน่วย
ยอดขาย 140,000 บาท หัก ต้นทุนขาย 102,550 บาท (17,500 หน่วย x 8 บาท) นโยบายใหม่ ยอดขาย 140,000 บาท หัก ต้นทุนขาย 102,550 บาท กำไรขั้นต้น 37,450 บาท หัก หนี้สูญ 5% 7,000 บาท กำไรก่อนหักภาษี 30,450 บาท (17,500 หน่วย x 8 บาท) (17,500 หน่วย x 5.86 บาท) (140,000 บาท x 5%)
ต้นทุนผันแปร ต่อ หน่วย (V/น) = 5 บาท ต้นทุนคงที่ = 15,000 บาท ยอดขาย 17,500 หน่วย
การหาต้นทุนคงที่ ต่อหน่วย ต้นทุนคงที่ (รวม) ÷ จำนวนหน่วยขาย 15,000 บาท ÷ 17,500 หน่วย = 0.857 บาท/หน่วย
การหาต้นทุนคงที่ ต่อหน่วย ต้นทุนคงที่ (รวม) ÷ จำนวนหน่วยขาย 15,000 บาท ÷ 17,500 หน่วย = 0.86 บาท/หน่วย
ต้นทุนรวม ต่อหน่วย คือ ต้นทุนผันแปร + ต้นทุนคงที่ 5 + 0.86 = 5.86 บาท ต่อ หน่วย
นโยบายเดิม = 27,600 บาท นโยบายใหม่ = 30,450 บาท การพิจารณาเปลี่ยนแปลงยอดขาย เปรียบเทียบ กำไรหลังก่อนภาษี ระหว่าง นโยบายเดิม และ นโยบายใหม่ นโยบายเดิม = 27,600 บาท นโยบายใหม่ = 30,450 บาท ดังนั้น บริษัทฯ ตัดสินใจเปลี่ยนนโยบาย คือ ลดมาตรฐานของลูกหนี้ลง