ตัวชี้วัดด้านการพยาบาล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2551
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนนทบุรี
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
การพัฒนาโปรแกรมระบบ รายงาน หน่วยงานเวชสารสนเทศ หน่วยงานเวชสารสนเทศ กลุ่มพัฒนาระบบบริการ สุขภาพโรงพยาบาลสุโขทัย.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
1 จุดเน้นและแนวทางการสร้าง ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพ ติดในสถานศึกษา ปี 2557.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
การขับเคลื่อนงานสุขภาพจิต วัยทำงาน ประจำปี 2559 โดย โรงพยาบาลจิตเวชนครสวรรค์ราช นครินทร์
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
SP สาขาอุบัติเหตุและฉุกเฉิน
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
อสม.นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
โครงการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากผู้สูงอายุ
งาน Palliative care.
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ ข้อสั่งการ/ข้อเสนอแนะ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
SERVICE PLAN สาขาโรคไม่ติดต่อ.
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
ผลการดำเนินงาน การบริหารจัดการประเมิน และดูแลผู้ป่วยก่อนกลับเข้าทำงาน
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
รพ.สต.สายใยรัก อำเภอสัตหีบ
แพทย์หญิงดนุชา ช่อเฟื้อง
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
สรุปผลการนิเทศงานเฉพาะกิจ งานข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การป้องกันควบคุมโรค NCDs
หลักเกณฑ์การประเมินกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
การติดตาม (Monitoring)
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
ประเด็น ที่ 4 อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่
Service Profile : ตึกศัลยกรรมกระดูก ความเสี่ยง/ความท้าทาย
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ตัวชี้วัดด้านการพยาบาล สำหรับงานการพยาบาลชุมชน

ตัวชี้วัด17ตัว 1.ร้อยละความพึงพอใจในงาน ความสมดุลระหว่างชีวิตและการทำงานของบุคลากรทางการพยาบาล 2.ร้อยละความพึงพอใจของผู้ป่วย/ประชาชนต่อบริการพยาบาลในชุมชน 3.จำนวนองค์ความรู้และนวตกรรมที่ผลิตและพัฒนาขึ้นในชุมชนที่มีการนำไปใช้ในการเฝ้าระวังและจัดการปัญหาสุขภาพระดับท้องถิ่น

ตัวชี้วัด17ตัว 4.จำนวนพยาบาลวิชาชีพผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูงด้านการพยาบาลในชุมชน 5.ร้อยละของพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในชุมชนได้รับการอบรมหลักสูตรการพยาบาลในชุมชน 6.ความสามารถในการดูแลตนเองของประชาชน 6.1อัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนที่ป้องกันได้ในผู้ป่วยโรคเบาหวาน

ตัวชี้วัด17ตัว 6.2อัตราการเข้าถึงบริการพยาบาลผู้จัดการดูแล(Nurse Case Manager/APN) 7.อัตราความครอบคลุมของการประเมินภาวะสุขภาพประชาชน 7.1 ร้อยละของกลุ่มประชากรช่วงเด็กเล็กที่ได้รับการตรวจประเมินภาวะสุขภาพครบตามเกณฑ์(0-3ปี) 7.2ร้อยละของกลุ่มประชากรช่วงเด็กเล็กก่อนวัยเรียนได้รับการตรวจประเมินภาวะสุขภาพครบตามเกณฑ์(3-น้อยกว่า6ปี)

ตัวชี้วัด17ตัว 7.3ร้อยละของกลุ่มประชากรช่วงเด็กวัยประถมศึกษาได้รับการตรวจประเมินภาวะสุขภาพครบตามเกณฑ์(6-น้อยกว่า 13 ปี) 7.4ร้อยละของกลุ่มประชากรช่วงเด็กโตได้รับการตรวจประเมินภาวะสุขภาพครบตามเกณฑ์(13-น้อยกว่า19 ปี) 7.5ร้อยละของกลุ่มประชากรช่วงเยาวชนได้รับการตรวจประเมินภาวะสุขภาพครบตามเกณฑ์(19-น้อยกว่า25ปี) 7.6ร้อยละของกลุ่มประชากรช่วงวัยแรงงานตอนต้นได้รับการตรวจประเมินภาวะสุขภาพครบตามเกณฑ์(25-น้อยกว่า 35 ปี) 7.7ร้อยละของกลุ่มประชากรช่วงวัยแรงงานตอนปลายไดรับการตรวจประเมินภาวะสุขภาพครบตามเกณฑ์(35-น้อยกว่า 60 ปี)

ตัวชี้วัด17ตัว 7.8ร้อยละของกลุ่มประชากรช่วงผู้สูงอายุได้รับการตรวจประเมินภาวะสุขภาพครบตามเกณฑ์ 8.คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยเรื้อรัง 9.อัตราการเกิดแผลกดทับของผู้ป่วยที่บ้าน 10.อัตราส่วนพยาบาลต่อบุคลากรสุขภาพอื่นๆ 11.อัตราส่วนพยาบาลวิชาชีพต่อประชากร 12ชั่วโมงการเยี่ยมบ้าน

ตัวชี้วัด17ตัว 13.ภาวะสุขภาพครอบครัวในชุมชน(ร้อยละของครอบครัวภาวะสุขภาพดี) 14.การลดปัจจัยเสี่ยงในชุมชน 14.1ร้อยละของการคลอดที่ได้รับการฝากครรภ์ตามมาตรฐาน 14.2ร้อยละของเด็กอายุไม่เกิน5ปีที่ได้รับวัคซีนตามEPI program 14.3ร้อยละของสตรีกลุ่มเสี่ยงที่ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก

ตัวชี้วัด17ตัว 14.4ร้อยละของสตรีกลุ่มเสี่ยงที่ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม 14.5ร้อยละของประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไปมีพฤติกรรมลดการสูบบุหรี่ 14.6อัตราการเจ็บป่วยจากการประกอบอาชีพในผู้ประกอบอาชีพ 15.การพลัดตกหกล้มของผู้ป่วยที่บ้าน 16.มีการดำเนินงานตามService Plan 17.สถานบริการสุขภาพมีการดำเนินงานผ่านเกณฑ์คุณภาพเยี่ยมบ้าน

เรื่องปรึกษา จะเก็บอย่างไร/ รวบรวมส่งอย่างไร(ปีละ 2ครั้ง) กพ/กค.

รายงานข้อมูลตามหลักประเด็นหลักการพัฒนาคุณภาพการพยาบาล 1.การดำเนินงานตามService plan ของCNO 2.การพัฒนาสถานบริการสุขภาพระดับทุติยภูมิ ตติยภูมิ และศูนย์ความเชี่ยวชาญระดับสูงที่ระบบบริการพยาบาลมีคุณภาพตามเกณฑ์ 3.การพัฒนาองค์กรพยาบาลสู่การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ 4.การพัฒนาธรรมาภิบาลขององค์กรพยาบาล 5.การพัฒนาOPDคุณภาพ 6.การพัฒนางานบริการฝากครรภ์และงานบริการผู้คลอดคุณภาพ 7.การพัฒนาต้นแบบบริการเยี่ยมบ้านคุณภาพ

เกณฑ์คุณภาพการเยี่ยมบ้าน(Input) 1.มีระบบการดูแลเชื่อมโยงจากโรงพยาบาลมาถึงบ้านที่สนับสนุนการดูแลตนเองของผู้ป่วย 2.มีระบบฐานข้อมูลการเยี่ยมบ้านผู้ป่วยสะดวกในการใช้และเป็นปัจจุบัน 3.มีระบบสร้างภาคีเครือข่ายสนับสนุนความร่วมมือจากชุมชน 4.เยี่ยมโดยพยาบาลวิชาชีพ 5.เยี่ยมโดยบุคลากรสาธารณสุขอื่นๆของหน่วยปฐมภูมินั้นๆ 6”เยี่ยมโดยบุคลากรของหน่วยปฐมภูมิร่วมกับทีมภาคีเครือข่ายจากหน่วยงานอื่นๆทั้งภาครัฐและเอกชน

เกณฑ์คุณภาพการเยี่ยมบ้าน 7.ทีมสหสาขารับผิดชอบเยี่ยมบ้านตามขอบเขตสาขาวิชาชีพและทำงานร่วมกันอย่างเป็นระบบ 8.มีพยาบาลวิชาชีพเป็นผู้จัดการกำหนดเป้าหมายการเยี่ยมผู้ป่วยการวางแผนจำหน่ายและจัดทีมเยี่ยมบ้าน 9.มีการวางแผนการจำหน่าย/ปรับแผนตามสภาพปัญหาผู้ป่วยและมีการประเมินผลลัพธ์การดูแลร่วมกันของทีมเยี่ยมบ้าน 10.มีความรู้เรื่องโรค ยา อาการแทรกซ้อน/ซับซ้อนสามารถคัดกรองและส่งต่อทันเวลา 11.เลือกใช้หรือสร้างเครื่องมือเฉพาะโรคตามสภาพปัญหาผู้ป่วยได้เหมาะสมเช่น ADL 2Q 9Qฯลฯ

เกณฑ์คุณภาพการเยี่ยมบ้าน 12.วิเคราะห์ต้นทุนทางสังคมข้อมูลความเจ็บป่วยและคืนข้อมูลเพื่อEmpowermentให้เกิดความร่วมมือ 13.พัฒนาให้เกิดภาคีเครือข่ายภาครัฐและภาคเอกชนเข้ามามีส่วนร่วมดำเนินการเยี่ยมบ้าน 14.สร้างความเข็มแข็งและขยายเครือข่ายภาคประชาชนมีบทบาทร่วมทีมเยี่ยมบ้าน 15.มีระบบสอนแนะนำที่ช่วย อสม./จิตอาสารู้วิธีปฏิบัติในบทบาททีมเยี่ยมบ้าน 16.มีอุปกรณ์เยี่ยมบ้านครบถ้วนสภาพพร้อมใช้ 17.มีการบริหารจัดการวัสดุอุปกรณ์เครื่องใช้ให้มีประสิทธิภาพเพียงพอต่อการใช้

เกณฑ์คุณภาพการเยี่ยมบ้าน 18.มีการประยุกต์ใช้อุปกรณ์ที่มีในบ้าน/ชุมชนเพื่อให้เหมาะกับผู้ป่วยแต่ละราย Process 19.มีเกณฑ์คัดกรองกำหนดผู้ป่วยกลุ่มเป้าหมายเยี่ยมบ้านเป็นรายโรค 20.มีระบบสารสนเทศผู้ป่วยกลุ่มเป้าหมายเยี่ยมบ้านเป็นปัจจุบัน 21.มีผังแสดงความชุกของกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ตามระดับความรุนแรง 22.มีกระบวนการเยี่ยมบ้านตามแผนการรักษาและความถี่การเยี่ยมบ้านเป็นรายกลุ่ม/รายโรคตามเกณฑ์ที่กำหนดเพื่อมุ่งส่งเสริมการดูแลตนเองของผู้ป่วย 23.มีการเยี่ยมบ้านในกรณีเกิดภาวะเฉียบพลันได้ทันเวลาตามสภาพความรุนแรง/ซับซ้อนของแต่ละโรค

เกณฑ์คุณภาพการเยี่ยมบ้าน 24.มีการติดตามควบคุมกำกับผลการดำเนินงาน 25.ติดตามผลการรักษา/ทำหัตถการที่จำเป็น/ฟื้นฟูสภาพป้องกันภาวะแทรกซ้อน 26.ให้การพยาบาลเพื่อลดอาการไม่สุขสบาย/อาการรบกวน 27.การประสานเพื่อการรักษาเบื้องต้น/ส่งต่อ/ช่วยให้ผู้ป่วยและครอบครัวได้รับการช่วยเหลือตามความเหมาะสม 28.ช่องทางการสื่อสรเพื่อประสานและปรับแผนการจำหน่ายตามภาวะของผู้ป่วยระหว่างเครือข่ายบริการที่มีประสิทธิภาพ 29.มีผู้รับผิดชอบหลักในการวางแผนจำหน่ายทุกหน่วยบริการ 30.มีระบบข้อมูลสารสนเทศเทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูลงานเยี่ยมบ้านระหว่างสถานบริการที่เหมาะสมกับบริบท

เกณฑ์คุณภาพการเยี่ยมบ้าน 31.มีการดำเนินการวางแผนจำหน่ายและการจัดสารสนเทศข้อมูลการดูแลต่อเนื่องการประสานส่งต่อหน่วยงานต่างๆ 32.มีทีมงานและมีการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายดูแลผู้ป่วยต่อเนื่องที่บ้าน 33.มีศูนย์/เครือข่ายแหล่งสนับสนุนเครื่องมืออุปกรณ์ทางการแพทย์ใช้ที่บ้านผู้ป่วย 34.มีระบบการเยี่ยมบ้านร่วมกันระหว่างหน่วยบริการกรณีผู้ป่วยส่งต่อมีปัญหาซับซ้อน 35.มีการใช้แผนการจำหน่ายร่วมกันระหว่างสถานบริการต่างระดับ 36.มีกระบวนการให้คำปรึกษา/ระบบพี่เลี้ยงในระดับตติยภูมิ/ทุติยภูมิ/ปฐมภูมิ

เกณฑ์คุณภาพการเยี่ยมบ้าน 37.มีการบันทึกข้อมูลการให้บริการทุกครั้ง 38.มีข้อมูลการเปลี่ยนแปลงปัญหาสุขภาพและการดูแลช่วยเหลือที่ตรงความต้องการ 39.มีการบันทึกที่แสดงถึงการใช้กระบวนการพยาบาลกำหนดประเด็นปัญหาและแผนการดูแลครั้งต่อไปสอดคล้องกับภาวะผู้ป่วย

เกณฑ์คุณภาพการเยี่ยมบ้าน ตัวชี้วัดผลลัพธ์การเยี่ยมบ้าน 1.จำนวนชั่วโมงการเยี่ยมบ้านของเจ้าหน้าที่ไม่น้อยกว่า6ชั่วโมง/สัปดาห์/คน 2.อัตราความครอบคลุมการเยี่ยมผู้ป่วยที่บ้านไม่น้อยกว่าร้อยละ80 3.อัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนที่บ้านไม่เกินร้อยละ5 4.อัตราผู้ป่วยได้รับการเยี่ยมบ้านสามารถควบคุมภาวะโรค/ดูแลตนเองได้ร้อยละ80 5.ความพึงพอใจของทีมเยี่ยมบ้านไม่น้อยกว่าร้อยละ80 6.ความพึงพอใจของผู้รับบริการไม่น้อยกว่าร้อยละ80 7.อัตราผู้ป่วยส่งกลับจาก รพศ./รพท./รพช.ได้รับการเยี่ยมบ้านภายใน14วันร้อยละ100 8.อัตราการส่งข้อมูลผู้ป่วยระดับ3ถึงหน่วยบริการปลายทางภายใน 5วัน ร้อยละ80