การจัดการข้อมูลเพื่อทดสอบพันธุ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน

Advertisements

วิชาสัมมนา ( ) เรื่อง ผลของพ่อพันธุ์ดูร็อคและพ่อพันธุ์เพียเทรนต่อสมรรถนะการเจริญเติบโต ลักษณะซากและคุณภาพเนื้อของสุกรขุน Effect of Duroc and Pietrain-sired.
안녕하세요. ( อัน-นยอง-ฮา-เซ-โย )
การวิจัย RESEARCH.
หลักวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
การศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา ภาควิชาสัตวบาล คณะเกษตร กำแพงแสน
พฤติกรรมการถ่ายทอดลูกหลานของแมลง Brood Producing Behaviors in Insects
Physiology of Crop Production
โรคแท้งติดต่อ (Brucellosis)
นิยามศัพท์ทางด้านอาหารสัตว์ และการจำแนกวัตถุดิบอาหารสัตว์
นิยามศัพท์ทางเภสัชวิทยา
วัตถุดิบอาหารสัตว์ที่เป็นแหล่งของโปรตีนที่มาจากสัตว์
สารกระตุ้นสมรรถภาพการผลิต
การควบคุมคุณภาพคอนกรีต
ข้อแตกต่างการสร้างภูมิคุ้มกัน ระหว่างไก่ไข่และไก่เนื้อ
เทคนิคพื้นฐานในการปรับปรุงพันธุ์พืช
สุขาภิบาลอาหารและโภชนาการ
2 การเก็บรวบรวมข้อมูล Data Collection.
(quantitative genetics)
ผลการจำกัดอาหารในลูกสุกรหย่านมก่อนกำหนด
คุณค่าทางอาหารสัตว์ของหญ้าแฝก
โดย ABC DEFG สาขาสัตวศาสตร์
ระเบียบวิธีวิจัย RESEARCH METHODOLOGY : ตัวแปรการวิจัย.
Certo, S.C. กล่าวว่า การประเมิน ข่าวสาร คือ กระบวนการกำหนดว่า การได้มาซึ่งข่าวสารนั้นเป็นเรื่องที่ชอบ ด้วยเหตุผล (justified) ซึ่งฝ่ายจัดการ มักจะเน้นในแง่คุณค่าในแง่ตัวเงิน.
ข้อมูลมีมาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ความแตกต่างคงจะเป็นเรื่องของปริมาณ คุณภาพ ประเภท และการใช้ข้อมูล 1. ในแง่ปริมาณ ปริมาณน่าจะเพิ่มใน อัตราเร่งรัดจนเกิดสภาพที่ที่เรียกว่า.
เทคโนโลยีชีวภาพ เสาวลักษ์ สารรัมย์.
การเลี้ยงปลากะพงขาว.
เทคโนโลยีปุ๋ย ปุ๋ย หมายถึง สารหรือสิ่งซึ่งเราใส่ลงไปในดิน เพื่อวัตถุประสงค์ให้ปลดปล่อยธาตุอาหารพืชโดยเฉพาไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม พืชสามารถเจริญเติบโตงอกงามดีและให้ผลิตผลสูงขึ้น.
Comparison of efficacies of different probiotics for broiler chickens
แนวคิดการส่งเสริมปศุสัตว์ไทย
และแผนการดำเนินงาน ปี 55 สำนักเทคโนโลยีชีวภาพการผลิตปศุสัตว์
การใช้ยอดอ้อยเลี้ยงโค- กระบือ ทดแทนอาหารหยาบในฤดูแล้ง
การใช้ใบสับปะรดในอาหารผสมเสร็จสำหรับโครีดนม
การศึกษาหญ้าแฝกเพื่อใช้เป็นพืชอาหารสัตว์
สถิติ Statistics โดย น.ท.อนุรักษ์ โชติดิลก
สถิติในการวัดและประเมินผล
ความก้าวหน้าและผลของเทคโนโลยีชีวภาพ
2 มิถุนายน อ. ศมณพร สุทธิบาก ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายประกันคุณภาพและบริหารความเสี่ยง คณะวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์
การผสมเทียม   การผสมเทียม (Artificial insemination) หมายถึง การทำให้เกิดการปฏิสนธระหว่างไข่กับอสุจิ ที่มนุษย์เป็นผู้ทำให้เกิดการปฏิสนธิ โดยนำน้ำเชื้ออสุจิจากสัตว์ตัวผู้ที่เป็นพ่อพันธุ์ไปผสมกับไข่ของสัตว์ตัวเมียที่เป็นแม่พันธุ์
การผสมเทียม นางแก้วตา สุเดชมารค วิชาวิทยาศาสตร์ประยุกต์
ความหลากหลายทางชีวภาพ
บทที่ 1 บทนำ(Introduction)
วิกฤตคุณภาพอุดมศึกษาไทย
การคัดเลือกพันธุ์พืชผสมข้าม
หลักสูตรอบรม การวัดประสิทธิภาพและผลิตภาพของการผลิตสินค้าเกษตร
Wean-to-Finish (WTF) System
การใช้ไขมันในอาหารโคนม
สวัสดี ครับ เพื่อนพี่น้องผู้ทรงคุณวุฒิทุกท่าน.
แผนการคัดเลือก สามารถแบ่งได้ดังนี้ Tandem Method
โดย ดร.วุฒิไกร บุญคุ้ม ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์
โดย ผศ.ดร.วุฒิไกร บุญคุ้ม ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์
การประมาณค่าพารามิเตอร์ทางพันธุกรรมและแนวโน้มทางพันธุกรรมของสมรรถนะการเจริญเติบโตและผลผลิตไข่ในไก่พื้นเมืองไทย (ประดู่หางดำ) วุฒิไกร บุญคุ้ม, มนต์ชัย ดวงจินดา,
การประมาณกราฟการให้นมเนื่องจากอิทธิพลทางพันธุกรรม
การผลิตเนื้อโคขุนโพนยางคำ
8 พันธุ์หมูที่เลี้ยงง่าย
เทคโนโลยีชีวภาพทางสัตว์ Animal biotechnology
Data Collecting for Genetic Improvement in Pig and Chicken
Population genetic พันธุศาสตร์ประชากร.
ความสมบูรณ์พันธุ์ของโคนม Fertility in Dairy Cattle
หน่วยที่ 3 ประเภทแหล่งข้อมูลทางการตลาด
สถานีวิจัยทดสอบพันธ์สัตว์นครพนม 30 มิถุนายน 2557
ศูนย์ข้อมูลการปรับปรุง พันธุ์แพะ แสนศักดิ์ นาคะ วิสุทธิ์
หลักการคัดเลือกพันธุ์สัตว์ Principle of Selection
โดย ผศ.ดร.วุฒิไกร บุญคุ้ม ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์
การออกแบบการวิจัย.
มัลติเปิลแอลลีล (Multiple allele)
โครงการพัฒนาคุณภาพน้ำนมดิบ กลุ่มเกษตรกรรายย่อยบ้านห้วยเตย จังหวัดขอนแก่น ศวพ.ขอนแก่น.
ข้อมูล ข้อเท็จจริงหรือรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่สนใจศึกษา ซึ่งอาจอยู่ในรูปตัวเลข เช่น น้ำหนัก ความสูง ระยะทาง อายุ หรืออาจเป็นข้อเท็จจริงที่อยู่ในรูปคุณลักษณะหรือคุณสมบัติ
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อความถี่ยีน
เกณฑ์การประเมินประสิทธิภาพการสืบพันธุ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจัดการข้อมูลเพื่อทดสอบพันธุ์ โดย อาจารย์วุฒิไกร บุญคุ้ม ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

บทนำ การได้มาซึ่งข้อมูลทางพันธุกรรมที่ดีจะต้องขึ้นอยู่กับการมีข้อมูลที่ดี ข้อมูลแบ่งออกเป็น 2 ส่วนคือ 1. ข้อมูลปฐมภูมิ (primary data) ข้อมูลดิบ 2. ข้อมูลทุติยภูมิ (secondary data) ข้อมูลที่เก็บ รวบรวมในฐานข้อมูล

คำศัพท์ที่ควรรู้ Chick Hen Cock Broiler chicken Layer chicken

คำศัพท์ที่ควรรู้ Sow Boar Pig Piglet Gilt

คำศัพท์ที่ควรรู้ Calf Bull or Sire Dam Steer

โครงสร้างของข้อมูลสำหรับประเมินพันธุ์ ข้อมูลสำหรับการประเมินพันธุกรรมสัตว์แบ่งออกได้ดังนี้ 1 ข้อมูลทางระบบสืบพันธุ์ 2 ข้อมูลการเจริญเติบโต 3 ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพผลผลิต 4 ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับความคงทน 5 ข้อมูลทางด้านโครงร่าง

ข้อมูลเพื่อการปรับปรุงพันธุ์โคเนื้อ-โคนม 1 = ช่วงวันท้องว่าง เริ่มตั้งแต่วันที่คลิดจนถึงวันที่ผสมติด (days open) 2 = ช่วงตั้งแต่วันคลอดจนถึงเป็นสัดครั้งแรก (Days to 1st heat after calving) 3 = ช่วงตั้งท้อง เริ่มตั้งแต่วันผสมติดจนถึงวันที่คลอด (gestation) 4 = ระยะห่างการให้ลูก ช่วงตั้งแต่วันที่คลอดจนถึงวันที่คลอดลูกตัวถัดไป (calving interval)

ข้อมูลเพื่อการปรับปรุงพันธุ์โคเนื้อ-โคนม ข้อมูลที่เก็บในโคเนื้อ 1. ID หมายเลขสัตว์ 2. BW เป้าหมาย ต่ำ เพื่อ ลด Distodia 3. Day to 1th heat เป้าหมาย ต่ำ เพื่อ เพิ่ม Reproduction 4. Open day เป้าหมาย ต่ำ เพื่อ เพิ่ม การผสมติด 5. Calving Interval เป้าหมาย ต่ำ เพื่อ < 36545 6. Calf crop เป้าหมาย สูง เพื่อ > 85 %

ข้อมูลเพื่อการปรับปรุงพันธุ์โคเนื้อ-โคนม 2. Growth performance .น้ำหนักแรกเกิด (birth weight)  น้ำหนักหย่านม (weaning weight)  weight ratio  น้ำหนัก 1 ปี และ 1.5 ปี  อัตราการเจริญเติบโตก่อนหย่านม (pre-weaning gain)  ประสิทธิภาพการใช้อาหาร (feed efficiency)

ข้อมูลเพื่อการปรับปรุงพันธุ์โคเนื้อ-โคนม Sire Summary หรือ herd book ใช้รวบรวมค่า EBV , EPD ของพ่อพันธุ์ เรียก sire summary  ใช้รวบรวมค่า MPPA ของแม่พันธุ์ และ Embryo เรียก herd book  EBV = Estimated Breeding Value = คุณค่าการผสมพันธุ์  EPD = Expected Progeny Difference = ค่าคาดหวังของลูกที่ จะไดเมื่อเทียบกับค่าเฉลี่ยฝูง  EPD = 1/2 EBV  ค่า EPD,EBV

ข้อมูลเพื่อการปรับปรุงพันธุ์โคเนื้อ-โคนม Sire summary in dairy โดย Holstine Assosiation หรือ Red book Linear type โดยใช้ค่า PTA = 1/2 EBV  Predicted Transmitting Ability คือค่าที่แสดงว่าลูกที่ได้จะมีความสามารถแตกต่างจากค่าเฉลี่ยไปปริมาณเท่าใด เช่น PTA milk +1120 under dept Protien +720 foot angle Fat +110 ……………. %Protien +4.2 ……………. %Fat +1.0 ……………. Index TPI = Total production Index = b1. x1 + b2. x2 + b3 .x3 + b4.x4 โดยที่ X1 = milk yield PTA X2 = Fat PTA X2 = Protein PTA X4 = Under score PTA Type trait Linear type