กลุ่มวิจัยความหลากหลายทางชีวภาพ สำนักพัฒนาพันธุ์สัตว์ กรมปศุสัตว์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นางชัญญานุช สุวรรณ์ทา
Advertisements

รายงาน ความหลากหลายของพืช.
นกในประเทศไทย จัดทำโดย ด.ช.ธีรวุฒิ เนียมคุ้ม ชั้น ม. 2/1 เลขที่ 9.
บทที่ 7 การใช้ตัวอักษร สื่อชุดนี้เป็นลิขสิทธิ์ของสำนักพิมพ์วังอักษร ใช้เพื่อการศึกษาเท่านั้น.
วิชาสัมมนา ( ) เรื่อง ผลของพ่อพันธุ์ดูร็อคและพ่อพันธุ์เพียเทรนต่อสมรรถนะการเจริญเติบโต ลักษณะซากและคุณภาพเนื้อของสุกรขุน Effect of Duroc and Pietrain-sired.
ความหลากหลายของสัตว์
บัวงาม กรุณารอสักครู่
ไม้ดอกไม้ประดับงามตา ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนบ้านท่าเกวียน
เรื่องการเจริญเติบโตและพัฒนาการที่เหมาะสมตามวัย และ การปฏิบัติตนให้เหมาะสม กับพัฒนาการทางด้านร่างกาย พลศึกษาและสุขศึกษา ป.4.
กลุ่มวิจัยความหลากหลายทางชีวภาพ สำนักพัฒนาพันธุ์สัตว์ กรมปศุสัตว์
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
ด.ญ. วราภรณ์ พันธ์คำ เลขที่ 34 ด.ญ. ภาวินีย์ เค้ามูล เลขที่ 42
ด.ญ. วราภรณ์ พันธ์คำ เลขที่ 34 ด.ญ. ภาวินีย์ เค้ามูล เลขที่ 42
การเจริญเติบโตของมนุษย์
มวนแดงนุ่น Kapok bug Odontopus nigricornis Stal
แนวข้อสอบ - เมนเดลเป็นนักพันธุศาสตร์ที่ทำการศึกษาเกี่ยวกับเรื่อง ต้นถั่วลันเตา - ลักษณะพันธุกรรมที่ถ่ายทอดไปสู่รุ่นลูกเรียกว่า ลักษณะเด่น - ลักษณะพันธุกรรมที่ถ่ายทอดไปสู่รุ่นหลาน.
ความสำคัญของพืชและอนาจักรพืช
วิธีการเก็บตัวอย่างดิน
การเพาะเลี้ยงกุ้งก้ามกราม
คุณค่าทางอาหารสัตว์ของหญ้าแฝก
การเพาะพันธุ์ปลาแฟนซีคาร์ฟ
จัดทำโดย ด.ช.สมชาย คงดั่น 2/5.
เรื่อง ความหลากหลายของพืชและสัตว์
Chromosome Q : ยีนกับโครโมโซมมีความสัมพันธ์กันอย่างไร
การเลี้ยงปลากะพงขาว.
ควายเพื่อทำพ่อพันธุ์
การคัดเลือก “ควายงาม” ตามอุดมคติ หรืออุดมทัศนีย์ (Ideal type)
วงจรชีวิตของผีเสื้อ.
โรคอหิวาต์เป็ด ไก่ (Fowl cholera)
โรคฝีดาษไก่ (Pox disease)
ส่วนวิจัยต้นน้ำ สำนักอนุรักษ์และจัดการต้นน้ำ
เรื่อง สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเลี้ยงเป็ด รูปแบบการเลี้ยงเป็ดในประเทศไทย
ความก้าวหน้าและผลของเทคโนโลยีชีวภาพ
DNA สำคัญอย่างไร.
สาระการเรียนรู้การงานอาชีพ และเทคโนโลยี
วิวัฒนาการของม้า.
รายงาน Zoo Map Resame.
DOG TV ...
กระต่ายเนเธอร์แลนด์ ดวอร์ฟ
หมีขั้วโลก.
MY DOGS MY LOVE จัดทำโดย นางสาวณัฐพร แสงอรุณ
ดอนหอยหลอด (Don Hoi Lot).
การเลี้ยงปลาหางนกยูง
Next.
คอร์เดีย (Cordia) ผู้จัดทำ นางสาวเมทินี หล้าวงศ์
การบริหารจัดการศัตรูพืชที่สำคัญ โดย
ครู สุนิสา เมืองมาน้อย
ปาล์มขวด จัดทำโดย นาย ภานุวัฒน์ แซ่เจียง เลขที่ 8
ดินถล่ม.
8 พันธุ์หมูที่เลี้ยงง่าย
กล้วยไม้ ผู้จัดทำ 1. ด.ญ จิรสุดา ปักสำโรง ชั้น ป.4 เลขที่16
ด้วงกว่าง.
ดาวศุกร์ (Venus).
ประเภทของมดน่ารู้.
สัตว์โลกดึกดำบรรพ์ ที่ยังมีชีวิตอยู่ถึงปัจจุบัน
เรื่อง บอนสี จัดทำโดย ด. ญ. อาทิตย์ยา ผูกพัน เลขที่ 21 ชั้น ม
ปลาหางนกยูง.
ด. ญ. ปวันรัตน์ ตันกาศ เลขที่ 20 ม.1/2 ถัดไ ป.  จากหลักฐานรูปปั้นแมว มัมมี่แมว และ ภาพเขียนผนังเกี่ยวกับแมวแล้ว เราเชื่อว่าได้ มีการ  เลี้ยงแมวในอียิปต์
ด.ญ.พรพิมล เทพปันไหว ม1/2 เลขที่5
โครงการพระราชดำริ หญ้าแฝก จัดทำโดย ด.ช.พงศ์ธนัช เสนอ อ.มุทิตา หวังคิด.
สถานีวิจัยทดสอบพันธ์สัตว์นครพนม 30 มิถุนายน 2557
เรื่อง สัตว์ ถัดไป.
ด.ญ.พชร แสงศักดิ์ ม.1/2 เลขที่.4
ด.ช.สุรเวศม์ สุวรรณดำรงผล ม.1/2 เลขที่ 6
Class Monoplacophora.
Class Polyplacophora.
เกษตรที่ยั่งยืน วนเกษตร.
เรื่อง ปลากัด จัดทำโดย
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อความถี่ยีน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กลุ่มวิจัยความหลากหลายทางชีวภาพ สำนักพัฒนาพันธุ์สัตว์ กรมปศุสัตว์ สัตว์เลี้ยงไทย ไก่แจ้ กลุ่มวิจัยความหลากหลายทางชีวภาพ สำนักพัฒนาพันธุ์สัตว์ กรมปศุสัตว์

ความสำคัญของไก่แจ้ ไก่แจ้มีวิวัฒนาการและปรับตัวมาจากไก่ป่าขนสีแดง (red jungle fowl) เช่นเดียวกับไก่ชนิดอื่น ๆ เกือบทั่วโลก ไก่แจ้มีชื่อเรียกทางวิทยาศาสตร์เช่นเดียวกับไก่เลี้ยงทั่วไปคือ Gallus domesticus จัดอยู่ใน Tribe Phasianini, Subfamily Phasianinae, Family Phasianidae, Suborder Galli, Order Galliforms และ Class Aves ไก่แจ้มีแข้งสั้น มองแทบไม่เห็นขา ลักษณะแข้งสั้นดังกล่าวถูกควบคุม ด้วยยีน Cp สามารถพบเห็นไก่แข้งสั้นได้ในหลายพื้นที่ของโลก การเรียกขานไก่แข้งสั้นชนิดนี้ในแต่ละพื้นที่จะแตกต่างกันไป เช่น ประเทศไทยเรียก ไก่แจ้ ประเทศญี่ปุ่นเรียก Chabo และ Jitokko ประเทศฝรั่งเศสเรียก Courtes Pattes ประเทศอังกฤษเรียก Scots Dumpy ส่วนอเมริกาเรียก Creeper และ Japanese bantams ซึ่งเป็นพันธุ์ไก่แข้งสั้นที่นำมาจากประเทศญี่ปุ่น ไก่ขาสั้นจะมีเอกลักษณ์ เฉพาะตัวคือแข้งสั้นแตกต่าง จากไก่ Bantams ทั่วไปที่หมายถึงไก่ที่มีขนาดเล็ก น้ำหนักไม่มาก แต่ความยาวขาปกติ

ความสำคัญของไก่แจ้ ไก่แจ้ เป็นไก่พื้นเมืองชนิดหนึ่ง (Domestic Fowl) จัดอยู่ในประเภทสัตว์สวยงาม อยู่คู่สังคมไทยมาเป็นเวลานาน วัตถุประสงค์ของการเลี้ยงเพื่อความเพลิดเพลิน ความสวยงาม และความสุขใจของผู้เลี้ยง เดิมเป็นไก่ป่าที่มีความปราดเปรียว ขี้ระแวง เข้าใกล้ไม่ได้ แต่เพราะมีขนสวยงาม ลักษณะที่น่ารัก และการเลี้ยงไม่ยุ่งยาก ทำให้เกิดการพัฒนาสายพันธุ์ให้สามารถอยู่ร่วมกับผู้เลี้ยงได้ จับต้องได้ และอุ้มได้ โดยมีการพัฒนาต่อเนื่องมาไม่ต่ำกว่า 30 ปี จนสามารถพัฒนาไก่แจ้ไทยได้ถึง 12 สี โดยมีความสวยงามตามมาตรฐานสากล

ลักษณะประจำพันธุ์ - เพศผู้มีขนาดใหญ่ กว้างกลม หงอนใหญ่ หน้า มีสีแดง ผิวหงอนหยาบ เหนียงใหญ่ ปากสั้น ตากลมโต เป็นประกาย ลำตัวเล็กกลม อกใหญ่กลม ขนสะอาด นุ่ม หนา แน่น เป็นเงา เพศเมีย มีลักษณะเดียวกันกับเพศผู้

ลักษณะสำคัญทางเศรษฐกิจ เพศผู้  มีน้ำหนักตัวประมาณ 730 กรัม  ถ้าน้ำหนักตัวสูงกว่ามาตรฐานเกิน 120 กรัม ถือว่าไม่ได้มาตรฐาน เพศเมีย  น้ำหนักตัวประมาณ  610 กรัม  ถ้าน้ำหนักตัวสูงกว่ามาตรฐานเกิน 120 กรัม  ถือว่าไม่ได้มาตรฐาน