ทฤษฎีเฮิคเชอร์และโอลิน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หน่วยที่ 13 ธุรกิจการเกษตร
Advertisements

เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 การโยกย้ายแรงงาน
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน
รองศาสตราจารย์ ดร. ภาวดี ทองอุไทย สิงหาคม 2552
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน (ต่อ)
Comparative advantage and the gains from trade (cont.)
บทบาทหญิงชายในระบบเศรษฐกิจ ศ. 363 Gender Economics
โลกาภิวัตน์ การค้าเสรี และการจ้างงานหญิงชาย
Heckscher-Ohlin (2) ดร.วิธาดา อนกูลวรรธกะ
Heckscher-Ohlin Theory(1) ดร.วิธาดา อนกูลวรรธกะ
Heckscher-Ohlin (3) ดร.วิธาดา อนกูลวรรธกะ
ตัวแบบเส้นความพอใจเท่ากัน(indifference curve)
Lecture 8.
Product and Price ครั้งที่ 8.
การตลาด กับสิ่งแวดล้อม
การพัฒนาเศรษฐกิจ ความหมาย
วิกฤต-โอกาส กับการพัฒนาอย่างยั่งยืน
ตลาดปัจจัยการผลิต (Markets for Factor Inputs)
Revision Problems.
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
นโยบายการคลัง Fiscal Policy
รศ.ดร. ชวินทร์ ลีนะบรรจง
บทที่ 1 Introduction เศรษฐศาสตร์จุลภาค คืออะไร
บทที่ 7 การวิเคราะห์ราคา สินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 9 การแข่งขันในตลาดสินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 9 ราคาระดับฟาร์มและราคาสินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต การศึกษาด้านอุปทาน ทฤษฏีการผลิต (บทที่ 5)
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับอุปสงค์และอุปทาน
(Sensitivity Analysis)
เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
สื่อการเรียนรู้ การตัดสินใจในการผลิต
สื่อประกอบการเรียนการสอน
บทที่ 8 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Perfect Competition) ความหมายของตลาด ลักษณะของตลาดแข่งขันสมบูรณ์
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต (Production Theory)
บทที่ 9 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Imperfect Competition) ตลาดผูกขาดที่แท้จริง ลักษณะของตลาดผูกขาดแท้จริง.
ธุรกิจในโลกาภิวัตน์ Globalizing Business.
เศรษฐศาสตร์จุลภาค (Microeconomics)
บรรยายองค์ความรู้เรื่อง AEC สมาคมอาเซียน
การวางแผนการผลิตรวม ความหมาย วัตถุประสงค์และขั้นตอนการวางแผนการผลิตรวม
อุตสาหกรรมเด่นของไทย มูลค่าส่งออก (ล้านบาท)
ขับเคลื่อนนวัตกรรม ด้วยการเข้าใจตลาดและผู้ใช้
Computer Application in Customer Relationship Management
หลักการสำคัญของเกษตรอินทรีย์
โดย สมภพ อมาตยกุล 21 กันยายน 2548
ลักษณะของรายงาน 1. คำนำ 2. สารบัญ 3. เนื้อหาที่รายงาน
บทที่ 3 การผลิตและการวางแผนฟาร์ม
โรงเรียนอรรถวิทยพณิชยการ บทเรียนออนไลน์
กระบวนการเรียนรู้เพื่อการพัฒนาวิสาหกิจชุมชน
เท่าเดิม ลดลง เพิ่มขึ้น เท่าเดิม ลดลง การเพิ่ม-ลดของสมาชิกกลุ่ม
บทที่ 4 โครงสร้างตลาดและการกำหนดราคา
โครงสร้างของตลาดและการกำหนดราคา
บทที่ 13 การบริการลูกค้าในการค้าปลีก
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
กระบวนการทางเศรษฐกิจ
Lecture 14 ประสิทธิภาพของการบริโภคจาก Edgeworth’s Box Diagram
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
ผู้สอน นางพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี
ทฤษฎีนีโอคลาสสิค.
บทที่ 8 ผลิตภัณฑ์การบริหารการผลิต
บทที่ 8 ผลิตภัณฑ์การบริหารการผลิต
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
บทที่ 4 กลยุทธ์การค้าปลีก
ทฤษฎีการผลิต.
บทที่1 การบริหารการผลิต
บทที่ 3 การตลาด ความหมายของการตลาด
หน่วยที่ ๗ แนวโน้มสังคมไทย และแนวทางเลือก.
ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด
ความหมายของวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์
เงินเฟ้อ และการว่างงาน
ตลาดผูกขาด ( MONOPOLY )
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ทฤษฎีเฮิคเชอร์และโอลิน

ทฤษฎีเฮิคเชอร์และโอลิน H – O กล่าวถึงความแตกต่างของทรัพยากรที่มีอยู่ของแต่ละประเทศ ความแตกต่างของราคาเปรียบเทียบ วิเคราะห์การกระจายผลตอบแทนระหว่างปัจจัยการผลิต วิธีการจัดสรรทรัพยากรการผลิตระหว่างอุตสาหกรรมการผลิตภายในประเทศ การสะสมทุน การเคลื่อนย้ายปัจจัยการผลิต

ข้อสมมติของท.บ H –O 1. ผลิตสินค้าสองชนิด 2. การผลิตใช้เทคโนโลยีเท่ากัน ราคาปัจจัยการผลิตเท่ากัน ถ้าราคาปัจจัยการผลิตต่างกันจะใช้ปัจจัยการผลิตที่มีราคาถูกทดแทนปัจจัยการผลิตที่มีราคาแพง 3. แต่ละประเทศใช้ปัจจัยการผลิตที่มีความอุดมสมบูรณ์ของตนเอง 4. การผลิตสินค้าสองชนิดมีลักษณะผลได้ต่อขนาดคงที่คือเพิ่มปัจจัยการผลิตได้สัดส่วนเท่ากับผลผลิต 5. การผลิตของสองประเทศผลิตบริโภคภายในประเทศได้ 6. รสนิยมในการบริโภคเหมือนกัน 7. ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ 8. ปัจจัยการผลิตเคลื่อนย้ายภายในประเทศได้แต่ระหว่างประเทศไม่ได้ 9. แต่ละประเทศจะผลิตตามความชำนาญเฉพาะอย่าง ไม่มีการว่างงาน 10. การค้าระหว่างประเทศสมดุล คือ การส่งออกเท่ากับการนำเข้า

การเน้นใช้ปัจจัยการผลิต ความอุดมสมบูรณ์ของปัจจัยการผลิต การค้าระหว่างประเทศเกิดจากความแตกต่างของความอุดมสมบูรณ์ในปัจจัยการผลิต ทำให้ราคาปัจจัยการผลิตแตกต่าง ต้นทุนการผลิตแตกต่าง ราคาสินค้าแตกต่าง

ทฤษฎีความเท่าเทียมของราคาปัจจัยการผลิต การค้าระหว่างประเทศนำมาซึ่งการเกิดความโน้มเอียง ทำให้ราคาปัจจัยการผลิตระหว่างประเทศอยู่ในระดับเดียวกันในทุกประเทศ การค้าระหว่างประเทศ ทำให้เกิดการเคลื่อนย้ายปัจจัยการผลิตระหว่างประเทศ

การค้าระหว่างประเทศกับการกระจายรายได้ การทดสอบทฤษฎีของ H – O การเปลี่ยนกลับในการเน้นการใช้ปัจจัยการผลิต ทฤษฎีความชำนาญการของแรงงาน ทฤษฎีวงจรผลิตภัณฑ์