ดินถล่ม.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
วัฏจักรของสารในระบบนิเวศ
Advertisements

ไฟป่า(Forest Fire).
(Landslide or Mass movement)
พายุฝนฟ้าคะนอง(Thunder storm)
ครูนุชนารถ เมืองกรุง โรงเรียนฟากกว๊านวิทยาคม อ. เมือง จ. พะเยา
ยุทธศาสตร์พัฒนาลุ่มน้ำยม
ดิน ประโยชน์ของดิน สมบัติของดิน ลักษณะของดิน
Global Warming.
หินแปร (Metamorphic rocks)
โครงงานสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพบริเวณป่าชายเลนบ้านอำเภอ
รายงานเรื่อง ภาคเหนือ
แผ่นดินไหว.
6. อย่าได้ยึดถือโดยการคาดคะเน การ คาดการณ์ตามประวัติศาสตร์ ตาม สถิติ ความน่าจะเป็น ซึ่งอาจจะผิดก็ ได้ เพราะเห็นแค่ร้อย อย่าเหมาว่าที่ ร้อยเอ็ดจะเป็นไปด้วย.
ภาวะโลกร้อน(Global Warming)
บทที่ 3 ทรัพยากรดิน.
คลื่นพายุซัดชายฝั่ง กลุ่มที่6.
รายงาน เรื่อง ดินถล่ม เสนอ อาจารย์วรรณา ไชยศรี.
Green Village บ้านคลองกั่ว หมู่ 7 ต.เขาพระ อ.รัตภูมิ จ. สงขลา.
สวนหิน (Rock garden) ดร.สุภาพรรณ ธรรมสุวรรณ ภาควิชาวิทยาศาสตร์การเกษตร
น้ำและมหาสมุทร.
การออกแบบงานชลประทานเบื้องต้น (สำหรับบุคลากรในสายสนับสนุนกรมชลประทาน)
ผลกระทบของแผ่นดินไหวที่มีต่อเขื่อน ในประเทศญี่ปุ่น
วิกฤตการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของโลก
คุณครูโชคชัย บุตรครุธ
วิกฤตการณ์เกี่ยวกับการตัดไม้ทำลายป่า และการสูญเสียพื้นที่ป่าไม้
ระเบิดเวลาที่รอวันปะทุ
ระเบิดเวลาที่รอวันปะทุ
วิกฤตการณ์ทรัพยากรป่าไม้ในประเทศไทย
สภาพแวดล้อมทางภูมิศาสตร์
ไต้หวัน 20 กันยายน 2542, M 7.6, Chelongpu Fault.
ข้อมูลปัญหาที่นำมาใช้เพื่อการออกแบบสวน
Demonstration School University of Phayao
สัณฐานและโครงสร้างของโลก
โครงสร้างทางธรณีวิทยา
สถานที่ท่องเที่ยวอำเภอ สามร้อยยอด
โปรแกรมประเมินค่าเสียหายทางสิ่งแวดล้อมบางประการหลังการทำลายป่าไม้
ส่วนวิจัยต้นน้ำ สำนักอนุรักษ์และจัดการต้นน้ำ
นายวิบูลย์ทัต สุทันธนกิตต์ ผู้อำนวยการสำนักงานสถิติแห่งชาติ
โครงการเครื่องวัดระดับ ความสูงคลื่น
ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ความรู้พื้นฐานด้านทรัพยากรน้ำ
โครงการปรับปรุงฟื้นฟูห้วยน้ำลี
การปูผิวแบบเว้นร่องระบายน้ำข้างcurb
( Stanum ใช้สัญลักษณ์ Sn )
ลิฟต์.
โครงการแก้ปัญหาภัยพิบัติโดยชุมชน บ้านห้วยลากปืนใน ต. ห้วยไร่ อ
การสร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์ทรัพยากร
สรุปเนื้อหาสาระ ภูมิศาสตร์
10.3 ชนิดของอุทกภัย (1.) แบ่งตามสาเหตุการเกิด
ปัญหาสิ่งแวดล้อม.
การจัดการสวนปาล์มน้ำมัน
การจัดการองค์ความรู้ ระบบการผลิตที่ยั่งยืน ความพอเพียงในการดำรงชีพ
บทที่ 7 เรื่อง พลังงานลม
อุตุนิยมวิทยากับการแจ้งเตือนภัย
โดย ครูธันว์ชนก บัวคงดี
จัดทำโดย เด็กหญิง วรรณิสาห์ มาโสด เสนอ อ. ดลหทัย อินทรจันทร์
แผนงบประมาณ ปี 2558 – 2561 งบประมาณ ล้านบาท
จัดทำโดย เด็กหญิง นันท์นภัส ขะชาติ ชั้น ม.1/13 เลขที่ 24
Natural Resources Benjavun Ratanasthien Department of Geological Sciences, Faculty of Sciences, Chiang Mai University.
ดินเปรี้ยว ดินเปรี้ยว หรือดินกรด (Acid soil) หมายถึง ดินที่มีค่า pH วัดได้ต่ำกว่า 7.0 ดังนั้น ดินเปรี้ยวจัด (Acid sulfate soil) จึงเป็นดินเปรี้ยวหรือดินกรดชนิดหนึ่ง.
เรื่อง : โรคของดินที่ควรเฝ้าระวัง
ส่วนพยากรณ์อากาศ ศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคเหนือ กรมอุตุนิยมวิทยา
ภัยธรรมชาติ ที่เกิดขึ้นในจังหวัดน่าน
คาดหมายลักษณะ อากาศ ส่วนพยากรณ์อากาศ ศูนย์อุตุนิยมวิทยา ภาคเหนือ กรมอุตุนิยมวิทยา.
หน่วยการเรียนที่ 2 สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรทางธรรมชาติ
โครงการพระราชดำริ หญ้าแฝก จัดทำโดย ด.ช.พงศ์ธนัช เสนอ อ.มุทิตา หวังคิด.
ภาวะโลกร้อน (Global Warming).
การเลือกสถานที่ตั้งโรงงาน
ภาวะโลกร้อน กับการดำเนินชีวิต
กระบวนการจัดการมูลฝอย การฝังกลบอย่างถูกหลักสุขาภิบาล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ดินถล่ม

ดินถล่มคืออะไร ดินถล่มหรือโคลนถล่ม คือ การเคลื่อนที่ของมวลดินและหินลงมาตามลาดเขาด้วยอิทธิพลของแรงโน้มถ่วงโลก และจะมีน้ำเข้ามาเกี่ยวข้องในการ ทำให้มวลดินและหินเคลื่อนตัวด้วยเสมอ ดินถล่มมักเกิดตามมาหลังจากน้ำป่าไหลหลาก ในขณะที่เกิดพายุฝนตกหนักรุนแรงต่อเนื่อง หรือหลังการเกิดแผ่นดินไหว

รูปแบบการเคลื่อนที่ของแผ่นดิน

กระบวนการเกิดดินถล่ม 1 เมื่อฝนตกหนัก น้ำจะซึมลงไปในดินอย่างรวดเร็ว ในขณะที่ดินอุ้มน้ำจนอิ่มตัว แรงยึดเกาะระหว่างมวลดินจะลดลง 2 ระดับน้ำใต้ผิวดินสูงขึ้นจะทำให้แรงต้านทานการเลื่อนไหลของดินลดลง 3 เมื่อน้ำใต้ผิวดินมีระดับสูงก็จะไหลภายในช่องว่างของดิน ลงมาตามความชันของลาดเขา 4 เมื่อมีการเปลี่ยนความชัน ก็จะเกิดเป็นน้ำผุดและเป็นจุดแรกที่มีการเลื่อนไหลของดิน

ปัจจัยที่ทำให้เกิดดินถล่ม 1 พื้นที่เป็นหินแข็งเนื้อแน่นแต่ผุง่าย 2 มีชั้นดินสะสมตัวหนาบนภูเขา 3 ภูมิประเทศที่เป็นภูเขาสูงชัน ที่ลาดเชิงเขา หุบเขาและหน้าผา 4 ป่าไม้ถูกทำลาย 5 มีฝนตกหนักต่อเนื่องกันเป็นระยะเวลานาน (มากกว่า 100 มิลลิเมตรต่อวัน) 6 ภัยธรรมชาติอื่นๆ เช่น พายุ, แผ่นดินไหว และไฟป่า

ชนิดของดินถล่ม

ลักษณะพื้นที่เสี่ยงภัยดินถล่ม ลักษณะของพื้นที่เสี่ยงภัยดินถล่ม มักเป็นพื้นที่ที่อยู่ตามลาดเชิงเขา หรือบริเวณที่ลุ่มที่ติดอยู่กับภูเขาสูง ที่มีการพังทลายของดินสูง หรือสภาพพื้นที่ต้นน้ำที่มีการทำลายป่าไม้สูง นอกจากนั้นในบางพื้นที่อาจเป็นบริเวณ ภูเขาหรือหน้าผาที่เป็นหินผุพังง่าย ซึ่งมักก่อให้เกิดเป็นชั้นดินหนา โดยเฉพาะอย่างยิ่งในบริเวณที่หินรองรับชั้นดิน นั้นมีความเอียงเทสูง และเป็นชั้นหินที่ไม่ยอมให้น้ำซึมผ่านได้สะดวก ลักษณะดังกล่าวทั้งหมดพบได้ทั่วไป ในประเทศไทย ซึ่งขณะนี้กรมทรัพยากรธรณีกำลังทำการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูล สำรวจเก็บข้อมูลทางธรณีวิทยา และสภาพแวดล้อมของพื้นที่เบื้องต้น และรวบรวมข้อมูลจากแหล่งข้อมูลอื่น พบว่าใน 51 จังหวัดทั่วประเทศ ซึ่งมีลักษณะพื้นที่เสี่ยงภัยต่อดินถล่มอยู่บริเวณลาดเชิงเขาและที่ลุ่มใกล้เขา โดยเฉพาะอย่างยิ่งหมู่บ้านที่ตั้งอยู่ ในบริเวณดังกล่าวมีความเสี่ยงภัยต่อดินถล่มมากเนื่องจากเมื่อมีพายุฝนตกหนักต่อเนื่องจะทำให้เกิดน้ำท่วมฉับพลัน น้ำป่าไหลหลาก และดินถล่มตามมาได้ ซึ่งอาจจะทำให้เกิดการสูญเสียชีวิตและทรัพย์สิน ของประชาชน ดังนั้น ประชาชนที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ดังกล่าวจึงควรให้ความสนใจและระมัดระวังเป็นพิเศษ

ลักษณะที่ตั้งของหมู่บ้านเสี่ยงภัยดินถล่มมีข้อสังเกตดังต่อไปนี้ 1 อยู่ติดภูเขาและใกล้ลำห้วย 2 มีร่องรอยดินไหลหรือดินเลื่อนบนภูเขา 3 มีรอยแยกของพื้นดินบนภูเขา 4 อยู่บนเนินหน้าหุบเขาและเคยมีโคลนถล่มมาบ้าง 5 ถูกน้ำป่าไหลหลากและท่วมบ่อย 6 มีกองหิน เนินทรายปนโคลนและต้นไม้ ในห้วยใกล้หมู่บ้าน 7 พื้นห้วยจะมีก้อนหินขนาดเล็กใหญ่อยู่ปนกันตลอดท้องน้ำ

ข้อสังเกตหรือสิ่งบอกเหตุ 1 มีฝนตกหนักถึงหนักมาก (มากกว่า 100 มิลลิเมตรต่อวัน) 2 ระดับน้ำในห้วยสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว 3 สีของน้ำเปลี่ยนเป็นสีของดินบนภูเขา 4 มีเสียงดัง อื้ออึง ผิดปกติดังมาจากภูเขาและลำห้วย 5 น้ำท่วมหมู่บ้าน และเพิ่มระดับขึ้นอย่างรวดเร็ว