จรรยาบรรณ นางสาวสมลักษณ์ ลวดเงิน พนักงานพัฒนากองทุนหมู่บ้าน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
และจรรยาบรรณของวิชาชีพครู
Advertisements

(กำหนดขึ้นโดยสำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดิน)
การวิเคราะห์และประเมินค่างาน
ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย เงินรายได้ของมหาวิทยาลัย พ. ศ
บทที่ 2 หลักการควบคุมภายใน
บทบาทและหน้าที่ของนักคอมพิวเตอร์
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
การปฏิบัติหน้าที่ของครูที่ปรึกษา
SMART Disclosure Program
ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย คณะกรรมการการเงินของมหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2546
การจัดทำรายงานการควบคุมภายใน ตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน
งานพนักงานราชการและลูกจ้าง
แนวทางการลงโทษวินัย ตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2535
การจัดทำจรรยาข้าราชการ
เรื่อง หน้าที่พลเมือง
จริยธรรม จริยธรรม หมายถึง กิริยาหรือความประพฤติที่ดี ที่เป็นธรรม ที่ถูกต้อง เป็นการกระทำความดี เป็นการกระทำที่ทำให้ผู้กระทำและผู้อื่นได้ประโยชน์โดยเสมอภาคซึ่งกันและกัน.
๒ การจัดระเบียบทางสังคม (Social Organization)
จริยธรรมข้าราชการพลเรือน
เกี่ยวกับการเงินและการพัสดุ
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. 2547
ประเด็นบรรยาย เรื่อง บทบาทและอำนาจหน้าที่ตามกฎหมาย ของผู้ตรวจการสหกรณ์
หน้าที่ของสมาชิกสหกรณ์
วิธีการสหกรณ์ อุดมการณ์ หลักการ นายบรรทูรย์ ราชิวงค์

การมีส่วนร่วมในสหกรณ์
การจัดสวัสดิการ ของสหกรณ์
ที่ว่าการอำเภอปะนาเระ
จรรยาบรรณวิชาชีพ.
คุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาล ของนักบัญชี
ธรรมนูญชีวิตที่ดีงาม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรมธุรกิจ
Chapter 10 จรรยาบรรณของนักธุรกิจ
คุณธรรม ***** สภาพคุณงามความดี
การนำนโยบายจรรยาบรรณ ลงสู่การปฏิบัติในระดับคณะ/หน่วยงาน
Good Corporate Governance
ขอบเขตความรับผิดชอบของรัฐบาลท้องถิ่น
ภาพแสดงกรอบการปฏิบัติงานการตรวจสอบภายใน
การประเมินผลการปฏิบัติงานรายบุคคล
การประชุมชี้แจงสาระสำคัญของประกาศ คพร.
(ร่าง) ระเบียบคณะกรรมการบริหารกองทุน ( ชื่อกองทุน )
มาตรฐานทางคุณธรรมและจริยธรรม ของ ผู้ตรวจราชการและหน่วยงานที่รับการตรวจราชการ สุรศักดิ์ แสงอร่าม รองเลขาธิการ ส.ป.ก. 21 ต.ค
โดย วัชรินทร์ จำปี รองเลขาธิการ กศน.
ความรับผิดชอบ ในวิชาชีพ
K M กจ. ประจำเดือนมีนาคม 2551
การพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือน/ ค่าจ้างประจำ
ดร.สมโภชน์ นพคุณ รองเลขาธิการ ก.พ. สำนักงาน ก.พ.
การประเมินผลการปฏิบัติราชการตามหลักเกณฑ์ และวิธีการที่ ก. พ
การตรวจสอบ และการควบคุมภายใน
ใครเป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ ตาม พระราชบัญญัติเครื่องสำอางบ้าง?
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
วิชา หลักการตลาด บทที่ 12 จริยธรรมทางการตลาด และความรับผิดชอบต่อสังคม
สาระสำคัญของกฏหมายปกครอง
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ว่าด้วยเกณฑ์จริยธรรมการจัดซื้อจัดหา
วิชาธุรกิจและการเป็นผู้ประกอบการ สัปดาห์ที่ 1
บทที่ 2 พุทธธรรมกับสังคม.
เรื่อง สถาบันการเมืองการปกครอง
ธรรมาภิบาลกับการจัดการภาครัฐแนวใหม่
จริยธรรมสำหรับผู้ประกอบการธุรกิจ
บทที่ 2 ทฤษฏีจริยธรรม.
บทที่ 2 จริยธรรมการวิจัยตลาด
ปัญหาจริยธรรมในทางธุรกิจ
รองศาสตราจารย์ ดร.อุดม รัฐอมฤต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
วัฒนธรรมและค่านิยม ขององค์การอุตสาหกรรมป่าไม้
บทความวิจัย เรื่อง การศึกษาจริยธรรมที่พึงประสงค์ของนักศึกษา
จะช่วยแก้ปัญหาเศรษฐกิจและสังคม ให้มีความอยู่ดี กินดี มีสุข อุดมการณ์สหกรณ์ อุดมการณ์สหกรณ์ คือ แนวความคิดที่เชื่อว่าหลักการและวิธีการสหกรณ์ จะช่วยแก้ปัญหาเศรษฐกิจและสังคม.
บทที่ 1 บทนำ SIRIPONR SOMKHUMPA.
หลักการบริหารงานบุคคลตามระบบคุณธรรม
“สหกรณ์กับการบังคับใช้กฎหมายว่าด้วยสหกรณ์ และกฎหมายอื่น”
ใบสำเนางานนำเสนอ:

จรรยาบรรณ นางสาวสมลักษณ์ ลวดเงิน พนักงานพัฒนากองทุนหมู่บ้าน สำนักงานกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ สาขา ๗

ความหมายของจรรยาบรรณ หมายถึง ประมวลความประพฤติที่ผู้ประกอบอาชีพการงานแต่ละอาชีพกำหนดขึ้นเพื่อรักษาส่งเสริมเกียรติคุณ ชื่อเสียง และฐานะของสมาชิก อาจเขียนเป็นลายลักษณ์อักษรหรือไม่ก็ได้

จรรยาบรรณ จรรยาบรรณ  เป็นการควบคุมจากภายใน  เป็นการควบคุมจากภายใน  เป็นการสมัครใจทำเองด้วยจิตสำนึกและความภาคภูมิใจในการกระทำที่ถูกต้อง  เป็นอุดมคติที่สูงกว่ากฎหมาย  ไม่มีเจ้าหน้าที่ดำเนินการ  เป็นสิ่งที่คิดขึ้นเพื่อป้องกันการกระทำผิด

ความสำคัญของจรรยาบรรณ  ความสำคัญต่อตนเอง  ทำให้บุคคลมีความประพฤติที่ดีงาม มีระเบียบวินัย มีน้ำใจ เอื้ออาทร ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน

ความสำคัญของจรรยาบรรณ  ความสำคัญต่อส่วนรวม  ทำให้มีความรับผิดชอบต่อ ส่วนรวม สังคมมีระเบียบ มีน้ำใจ เอื้ออาทร ซึ่งกันและกัน คนใน สังคมอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข

ร่าง ระเบียบคณะกรรมการกองทุนหมู่บ้าน และชุมชนเมืองแห่งชาติ ระเบียบคณะกรรมการกองทุนหมู่บ้าน และชุมชนเมืองแห่งชาติ ว่าด้วยจรรยาบรรณของผู้สอบบัญชีกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ. 2553

ข้อ 1 ชื่อระเบียบฯ

ข้อ 2 วันที่ใช้บังคับ

หลักเกณฑ์การพิจารณาและวิธีปฏิบัติในเรื่องจรรยาบรรณ ข้อ 3 ให้ สทบ. กำหนด หลักเกณฑ์การพิจารณาและวิธีปฏิบัติในเรื่องจรรยาบรรณ

ข้อ 4 ให้ ผอ.สทบ. รักษาการ ตามระเบียบนี้

“ผู้สอบบัญชีกองทุน หมู่บ้านและชุมชนเมือง” ข้อ 5 คำจำกัดความ “ผู้สอบบัญชีกองทุน หมู่บ้านและชุมชนเมือง”

ข้อ 6 ผู้สอบบัญชีฯ ต้องปฏิบัติงานด้วยความซื่อสัตย์ ข้อ 6 ผู้สอบบัญชีฯ ต้องปฏิบัติงานด้วยความซื่อสัตย์ ยึดหลักความเสมอภาคและปฏิบัติตามมรรยาทผู้สอบบัญชี

ตามที่นายทะเบียนกองทุนกำหนด ข้อ 7 ผู้สอบบัญชีฯ ต้องปฏิบัติงาน ตามที่นายทะเบียนกองทุนกำหนด

การปฏิบัติงานให้เป็นไปตามกฎหมาย ข้อบังคับ ระเบียบ คำสั่ง ข้อ 8 ผู้สอบบัญชีฯ ต้องตรวจสอบ การปฏิบัติงานให้เป็นไปตามกฎหมาย ข้อบังคับ ระเบียบ คำสั่ง

ข้อ 9 ผู้สอบบัญชีฯ ต้องให้ความร่วมมือ ข้อ 9 ผู้สอบบัญชีฯ ต้องให้ความร่วมมือ กับคณะกรรมการฯ และ สทบ. ที่กำกับดูแลกองทุนฯ

ข้อ 10 ผู้สอบบัญชีฯ ไม่พึงรับสิ่งของหรือ ข้อ 10 ผู้สอบบัญชีฯ ไม่พึงรับสิ่งของหรือ ทรัพย์สินมีค่าจากกองทุนฯ ยกเว้นค่าธรรมเนียม

ข้อ 11 หากผู้สอบบัญชีฯ ฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตาม ข้อ 11 หากผู้สอบบัญชีฯ ฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตาม ข้อใดข้อหนึ่ง ให้ถือว่าประพฤติผิดจรรยาบรรณ

มรรยาทของผู้สอบบัญชี ความเป็นอิสระ ความเที่ยงธรรม และความซื่อสัตย์สุจริต

ความเป็นอิสระ  วางแผนการตรวจสอบ  ใช้วิธีการตรวจสอบ  แสดงความเห็นในรายงานการสอบบัญชี  ไม่มีส่วนได้เสียในกองทุนที่เข้าตรวจสอบ

ความเที่ยงธรรม  การใช้ดุลพินิจโดยปราศจากความลำเอียง  การใช้ดุลพินิจโดยปราศจากความลำเอียง  การพิจารณาข้อเท็จจริงต่าง ๆ อย่างยุติธรรมและเป็นกลาง

ความซื่อสัตย์สุจริต ความจริง  การประพฤติตรงจริงใจ  ไม่คดโกง  การประพฤติตรงจริงใจ  ไม่คดโกง  ไม่หลอกลวง  ไม่ปกปิดข้อเท็จจริงหรือบิดเบือน ความจริง

ความเที่ยงธรรม และ ความซื่อสัตย์สุจริต ความเป็นอิสระ ความเที่ยงธรรม และ ความซื่อสัตย์สุจริต  ไม่รับสอบบัญชีในกิจการที่ตนขาด ความเป็นอิสระ  ไม่รับสอบบัญชีในกิจการที่ตนขาด ความเป็นกลางโดยมีผลประโยชน์ หรือตำแหน่งเกี่ยวข้องกับกิจการนั้น  ปฏิบัติงานสอบบัญชีด้วยความเที่ยง ธรรมและความซื่อสัตย์สุจริต

มรรยาทของผู้สอบบัญชี และมาตรฐานในการปฏิบัติงาน ความรู้ความสามารถ และมาตรฐานในการปฏิบัติงาน

และมาตรฐานในการปฏิบัติงาน ความรู้ความสามารถ และมาตรฐานในการปฏิบัติงาน ต้องใช้ความรู้ ความสามารถ และ ความชำนาญงานเป็นพิเศษ ปฏิบัติหน้าที่อย่างมีประสิทธิผลและ ประสิทธิภาพ ผลงานของผู้สอบบัญชีเป็นที่เชื่อถือ ได้

และมาตรฐานในการปฏิบัติงาน (ต่อ) ความรู้ความสามารถ และมาตรฐานในการปฏิบัติงาน (ต่อ) ไม่สอบบัญชีในกิจการที่เกินความรู้ ความสามารถของตน ปฏิบัติงานสอบบัญชีด้วยความระมัดระวังและ รอบคอบ ไม่ลงลายมือชื่อรับรองในรายงานโดยการ แสดงความเห็นเกี่ยวกับการคาดคะเนรายการ ใด ๆ ของกิจการที่ตนรับสอบบัญชี

และมาตรฐานในการปฏิบัติงาน (ต่อ) ความรู้ความสามารถ และมาตรฐานในการปฏิบัติงาน (ต่อ) ไม่ลงลายมือชื่อรับรองในรายงานโดยการ แสดงความเห็นในการสอบบัญชีของ กิจการใดที่ตนมิได้ปฏิบัติงานสอบบัญชี ไม่ยินยอมให้ผู้อื่นอ้างว่าตนเป็นผู้ทำการ สอบบัญชีในกิจการใดโดยตนมิได้ ปฏิบัติงาน

และมาตรฐานในการปฏิบัติงาน (ต่อ) ความรู้ความสามารถ และมาตรฐานในการปฏิบัติงาน (ต่อ) ให้บันทึกความเห็นไว้ในรายงานการ สอบบัญชีเมื่อมีการปฏิบัติที่ขัดหรือแย้ง กับหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไปและมี ผลกระทบที่สำคัญต่องบการเงิน การลงลายมือชื่อรับรอง โดยมีเงื่อนไข หรือไม่แสดงความเห็นหรือแสดง ความเห็นว่างบการเงินไม่ถูกต้อง ต้อง แสดงเหตุผลไว้ในรายงาน

มรรยาทของผู้สอบบัญชี มรรยาทต่อลูกค้า

มรรยาทต่อลูกค้า ไม่เปิดเผยความลับของ กิจการที่ตนสอบบัญชี ไม่เปิดเผยความลับของ กิจการที่ตนสอบบัญชี ไม่ละทิ้งการปฏิบัติงาน สอบบัญชีที่รับไว้แล้วโดย ไม่มีเหตุอันสมควร

มรรยาทของผู้สอบบัญชี มรรยาทต่อเพื่อนร่วมวิชาชีพ

มรรยาทต่อเพื่อนร่วมวิชาชีพ ควรให้ความร่วมมือซึ่งกันและกัน ส่งเสริมและพัฒนาวิชาชีพสอบบัญชี สร้างความสัมพันธ์อันดี ไม่ทำงานเกินขอบเขตที่ได้รับ มอบหมาย ไม่แย่งงานหรือแย่งผู้ช่วยผู้สอบบัญชี

มรรยาทต่อเพื่อนร่วมวิชาชีพ (ต่อ) ไม่แย่งงานสอบบัญชีจากผู้สอบบัญชี อื่น ไม่ทำการสอบบัญชีเกินกว่าที่ได้รับ มอบหมาย

มรรยาทของผู้สอบบัญชี มรรยาททั่วไป

มรรยาททั่วไป ต้องรักษาจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพ ต้องรักษา และส่งเสริมเกียรติ ศักดิ์แห่งวิชาชีพ พึงบำเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์ แก่สังคมส่วนรวม

มรรยาททั่วไป (ต่อ) ไม่กระทำการใด ๆ อันอาจนำมาซึ่ง ความเสื่อมเสียเกียรติศักดิ์แห่งวิชาชีพ ไม่โฆษณาหรือยินยอมให้ผู้อื่นโฆษณา ด้วยประการใด ๆ ไม่ให้หรือรับว่าจะให้ทรัพย์สินหรือ ประโยชน์ใด ๆ เพื่อเป็นการจูงใจให้ บุคคลอื่นแนะนำหรือจัดหางานการสอบ บัญชีมาให้ตนทำ

มรรยาททั่วไป (ต่อ) ไม่เรียกหรือรับทรัพย์สินหรือ ประโยชน์จากบุคคลใดในเมื่อบุคคล นั้นได้รับงานเพราะการแนะนำหรือ การจัดหางานของตน ไม่กำหนดค่าธรรมเนียมหรือ ค่าตอบแทนโดยถือเอาอัตราสูงต่ำ ของยอดเงิน หรือของมูลค่า ทรัพย์สินเป็นเกณฑ์

ขอบคุณค่ะ