การสะท้อนแสงบนกระจกเงา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คลิกที่นี่เพื่อเข้าชม
Advertisements

การถ่ายภาพงานพัฒนาชุมชน
WAVE อ.จักรพันธ์ จอมแสนปิง (NoTe) รร. สตรีสมุทรปราการ.
ประโยชน์ของ เครื่องโปรเจคเตอร์
น้ำหนักแสงเงา.
การเขียนหุ่นนิ่งรวม.
การเขียนหุ่นนิ่งทั่วไป
การเขียนรูปร่าง รูปทรงเรขาคณิต
ผู้ผลิต นายเชิดชัย ประโปตินัง ตำแหน่ง ครู คศ. 1
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
ทัศนศาสตร์(Optics) วิชาศึกษาธรรมชาติแสงและการมองเห็น.
การหักเห เมื่อแสงเคลื่อนที่จากตัวกลางหนึ่ง ไปอีกตัวกลางหนึ่ง ซึ่งมีอัตราเร็วไม่เท่ากัน โดยมีทิศไม่ตั้งฉากกับรอยต่อระหว่างตัวกลาง แสงจะมีทิศทางเปลี่ยนไป.
แสงและการมองเห็น ผู้จัดทำ นางเฉลิมศรี เปียปาน.
บทที่ 4 ระบบทางทัศนศาสตร์พื้นฐาน
ตาและการมองเห็น กระจกตา - โฟกัสภาพ - ระยะโฟกัสคงที่ เลนส์ตา - โฟกัสภาพ
=> Co= 299,792.5 km/s ( สุญญากาศ)
ประวัติการถ่ายภาพ(1) วิชาการถ่ายภาพ ได้มีการพัฒนาต่อเนื่องกันมาหลายร้อยปีตามลำดับ ก่อนจะมีกล้องถ่ายภาพ จนในศตวรรษที่ 19 มนุษย์ก็ประสบความสำเร็จในการคิดค้นกระบวนการสร้างภาพ.
บทที่ 6 การเขียนภาพสามมิติ ภาพอ็อบลีก
Points, Lines and Planes
การวาดและการทำงานกับวัตถุ
การเคลื่อนที่ของแสงผ่านตัวกลางที่ต่างกัน
การสร้างงานกราฟิก.
หน่วยที่ 7 การเลี้ยวเบนและโพลาไรเซชัน
วันนี้เรียน สนามไฟฟ้า เส้นแรงไฟฟ้า
Ultrasonic sensor.
การจัดแสงสำหรับงานโทรทัศน์
เลนส์.
3. ขึ้นอยู่กับระยะทางจากวัตถุถึงตัวกล้อง
แผนที่ นางสาวพัชรินทร์ รุ่งสว่าง ตำแหน่งครูผู้ช่วย
ความปลอดภัยของฐานข้อมูล
ฟิสิกส์ เรื่อง แสง จัดทำโดย นาย ปณิธาน กาญจนถวัลย์ ม.4/3 เลขที่ 12
เลนส์นูน.
สมบัติของคลื่น การสะท้อน
ผลิตโดย นางศรีไพ จิตอารี โรงเรียนเมืองแงง อำเภอปัว จังหวัดน่าน
ผลิตโดย นางศรีไพ จิตอารี โรงเรียนเมืองแงง อำเภอปัว จังหวัดน่าน
ผลิตโดย นางศรีไพ จิตอารี โรงเรียนเมืองแงง อำเภอปัว จังหวัดน่าน
เรื่อง การบอกตำแหน่งของวัตถุท้องฟ้า จัดทำโดย กลุ่ม 5
เ ฮี ย น ฟิ สิ ก ส์ โ ต ย ค รู โ อ๊ บ
วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค ครูผู้สอน นางสาวสมใจ จันทรงกรด
โดย ครูเพ็ญนภา ทองนุ่ม
Mind Mapping.
การมองเห็น และความผิดปกติของตา
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
Fiber Optic (เส้นใยแก้วนำแสง)
วงรี ( Ellipse).
การภาพจากการสะท้อนแสงของผิวโค้ง
ภาพจากการสะท้อนแสงของวัตถุ
ครู สุนิสา เมืองมาน้อย
กิจกรรม 4.7 สีของรุ้งเกิดขึ้นได้อย่างไร
กล้องโทรทรรศน์.
การสะท้อนแสงของผิวโค้ง
การเคลื่อนไหวของกล้อง
ไฮเพอร์โบลา (Hyperbola)
บทที่8 การเขียน Storyboard.
การหักเหของแสง (Refraction)
แสง การมองเห็น และทัศนอุปกรณ์
โดยครูศกุนต์ ก้อนแก้ว
1. เลนส์นูน เป็นเลนส์ที่ผิวโค้งตรง กลางหนากว่าบริเวณขอบ 2
แบบทดสอบชุดที่ 2 คำชี้แจง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียวทำลงในกระดาษคำตอบที่กำหนดให้
ผลงานโดย 1. นางสาวกนกนันทน์ สารสมัคร
นางสาวจุไรรัตน์ เพิ่มสุข
การหักเหแสงของเลนส์นูนกับเลนส์เว้า
องค์ประกอบศิลป์สำหรับการถ่ายภาพ
"" การพิจารณาองค์ประกอบในการถ่ายรูป "" หลักพื้นฐานในการพิจารณาองค์ประกอบในการออกแบบก่อน องค์ประกอบในการออกแบบ.
หน่วยของสิ่งมีชีวิต จัดทำโดย ด.ญ.ปิยฉัตร ชนะศึก ชั้น ม.1/4 เลขที่ 2
ครูศรีวรรณ ปานสง่า การบริหาร จัดการ ทรัพยากร ผู้สอน อ. ศรีวรรณ ปานสง่า โรงเรียนวังไกลกังวล.
แบบทดสอบชุดที่ 1 คำชี้แจง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียวทำลงในกระดาษคำตอบที่กำหนดให้
ภาพจากการสะท้อนแสงของวัตถุ
หลักการโปรแกรมเบื้องต้น
การหาตำแหน่งภาพที่เกิดจากการสะท้อนของแสงบนกระจกเงาโค้งทรงกลม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การสะท้อนแสงบนกระจกเงา

การสะท้อนแสงในกระจกเงาระนาบ

การสะท้อนแสง เป็นตามกฎการสะท้อน มุมตกกระทบ เท่ากับ มุมสะท้อน โดยรังสีตกกระทบ รังสีสะท้อน และเส้นปกติ ต้องอยู่ในระนาบเดียวกัน

การเกิดภาพในกระจกเงาราบ ตา

การเกิดภาพในกระจก 2 ขนาดภาพ = ขนาดวัตถุ 3 ภาพกลับซ้าย ขวา ตา 1 ระยะภาพ = ระยะวัตถุ 2 ขนาดภาพ = ขนาดวัตถุ ตา 3 ภาพกลับซ้าย ขวา

เราใช้การสะท้อนแสงที่ผิวกระจกราบมาใช้ประโยชน์ได้ดังนี้ กล้องเปอริสโคปเป็นกล้องที่ใช้สำหรับดูวัตถุที่อยู่สูงกว่าระดับสายตา หรือดูสิ่งที่มีของขวางกั้น โดยนำกฎการสะท้อนของแสงมาใช้

ร้านขายสินค้าบางชนิด เช่น ร้านขายทอง หรือตามห้างสรรพสินค้า มักนำกระจกเงาระนาบ มาช่วยตกแต่งร้าน โดยวางทำมุมต่างๆ เพื่อให้ลูกค้ามองสินค้าแล้วรู้สึกว่ามีสินค้าวางจำหน่ายอยู่มาก และยังทำให้ร้านดูกว้างขวางอีกด้วย

การสะท้อนของแสง ทำให้เกิดภาพจากวัตถุบางชนิด การสะท้อนของแสง ทำให้เกิดภาพจากวัตถุบางชนิด การเกิดภาพจากกระจก กระจกนูน กระจกเงาระนาบ กระจกเว้า

การสะท้อนแสงบนกระจกโค้งทรงกลม (กระจกเว้า,กระจกนูน)

กระจกโค้งทรงกลมเว้า C

กระจกโค้งทรงกลมนูน C

การเกิดภาพในกระจกโค้งทรงกลมเว้า (กระจกเว้า )

หลักการเขียนภาพกระจกโค้งทรงกลมเว้า 1 ลากแกนมุข 2 ลากเส้นขนานกับแกนมุข สะท้อนผ่านโฟกัส 3 ลากเส้นผ่านจุดศูนย์กลาง สะท้อนกลับทางเดิม

เกิดภาพจริง เล็ก..เล็กกว่าวัตถุ C วัตถุ ภาพ เกิดภาพจริง เล็ก..เล็กกว่าวัตถุ

เกิดภาพจริง เล็กกว่าวัตถุ C วัตถุ ภาพ เกิดภาพจริง เล็กกว่าวัตถุ

เกิดภาพจริง ใหญ่กว่าวัตถุ . C เกิดภาพจริง ใหญ่กว่าวัตถุ

เงื่อนไขการเกิดภาพในกระจกโค้งทรงกลมเว้า วัตถุ . C เกิดภาพที่ไกลมาก ๆ

เกิดภาพเสมือน ใหญ่กว่าวัตถุ . C ภาพ วัตถุ เกิดภาพเสมือน ใหญ่กว่าวัตถุ

การเกิดภาพในกระจกโค้งทรงกลมนูน (กระจกนูน )

วัตถุ ภาพ . C

วัตถุ ภาพ C

สรุปได้ว่า ถ้าใช้ตัวสะท้อนแสงผิวโค้งนูน จะเห็นภาพของสิ่งต่างๆ ได้มากขึ้น แต่ภาพจะมีขนาดเล็กกว่าของจริง และเป็นภาพหัวตั้ง และถ้าใช้ตัวสะท้อนแสงผิวโค้งเว้า จะไดภาพที่มีขนาดต่างกัน ทั้งหัวตั้งและหัวกลับ

ภาพที่ปรากฎบนกระจกนูนและกระจกเงาเว้า ลักษณะของกระจกเงาเว้าและกระจกเงานูน ผิวที่ทำหน้าที่สะท้อนแสง มีลักษณะโค้งคล้ายผิวของรูปทรงกลม เมื่อใช้กระจกเงานูนส่องใบหน้าที่ระยะหนึ่ง ภาพที่เกิดขึ้นจะมีขนาดเล็กกว่าใบหน้าจริง เป็นภาพหัวตั้ง เมื่อกระจกเงานูนอยู่ห่างจากใบหน้าที่ระยะต่างๆ ภาพที่เกิดขึ้นจะมีขนาดเล็กกว่าวัตถุ เมื่อใช้กระจกเงาเว้าส่องดูใบหน้าที่ระยะต่างๆกัน พบว่าภาพที่เกิดขึ้นจะมีการเปลี่ยนแปลงดังนี้ - ถ้ากระจกอยู่ใกล้ๆ จะเห็นภาพหัวตั้ง ขนาดใหญ่กว่าใบหน้าจริง - ถ้ากระจกอยู่ไกลๆ จะเห็นภาพหัวกลับ มีทั้งขนาดเล็กหรือใหญ่กว่าใบหน้าจริง และบางตำแหน่งจะไม่เห็นภาพ

เรานำหลักการสะท้อนของแสงจากกระจกเงาโค้งมา ใช้ประโยชน์ ดังนี้