ความปลอดภัยในการทำงาน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ห้องปฏิบัติการวิศวกรรมไฟฟ้ากำลัง
Advertisements

อุปกรณ์ของสำนักงานอัตโนมัติ
งานซ่อมบำรุง ฝ่ายอาคารสถานที่ สำนักบริหารระบบกายภาพ
ห้องปฏิบัติการต่างๆ.
ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายการฝึกอบรม
การลดปัจจัยเสี่ยงทางกายภาพและการยศาสตร์
ตอบคำถาม 1. วงจรไฟฟ้า หมายถึง ตัวนำไฟฟ้า หมายถึง
ปิโตรเลียมและผลิตภัณฑ์
โครงการพัฒนาฝ่าย/ศูนย์ ในสังกัดสถาบันวิจัยและพัฒนา ณ อาคารสุวรรณวาจกกสิกิจ ด้วยกิจกรรม 5 ส โดย นาง พจนันท์ ร่มสนธิ์ (เลขานุการสถาบันวิจัยและพัฒนา)
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
แผนการสอนชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านสารเคมี
เทคนิคการเชื่อมไฟฟ้า
โครงการ “เวทีพบปะ HR ระดับต้น”
ช่างสถานีไฟฟ้าย่อย หน่วยไฟฟ้า งานซ่อมบำรุง
Fuel cell Technology  เซลล์เชื้อเพลิง.
การผลิตไฟฟ้าจากขยะ โดยการฝังกลบขยะมูลฝอย
การจำแนกประเภทอุบัติเหตุของไอแอลโอ
เรียนรู้วิทยาศาสตร์ มัธยมศึกษาปีที่1
สำนักเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
กลุ่มที่ 1 การส่งเสริมสหกรณ์ให้ผ่านเกณฑ์ข้อ 1
สายคู่บิดเกลียว ข้อดี
ข้อดี ข้อเสีย สายโคแอกเชียล มีความคงทนสามารถเดินสายใต้ดินได้
การพัฒนานักเรียนโดยครูและโรงเรียน
อุบัติเหตุและวิธีป้องกัน
หัวข้อวิชา “งานศูนย์ปฏิบัติการสถานีตำรวจ”
ระบบไฟฟ้ากับเครื่องกล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
ช่างเทคนิคโตโยต้า >> ช่างเทคนิคโตโยต้าคืออะไร
5ส เพื่อการเพิ่มผลผลิต
ข้อควรระวังในการใช้เครื่องวิทยุคมนาคม
เตาไฟฟ้า.
เตาปิ้งย่างไฟฟ้า.
เครื่องพิมพ์ดีดไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า...ภายในบ้าน
เครื่องปิ้งขนมปัง.
เครื่องทำน้ำอุ่นไฟฟ้า
กระติกน้ำร้อนไฟฟ้า.
เครื่องถ่ายเอกสาร.
ลิฟต์.
หม้อสุกี้ไฟฟ้า.
อุตสาหกรรมฟอกหนัง ผลิตภัณฑ์จากหนัง งานตกแต่ง สี ขัด อัดหนัง
อุตสาหกรรมหล่อหลอมโลหะ
อุตสาหกรรมผลิตผลิตภัณฑ์จากกระดาษ
v v v v อุตสาหกรรมผลิตรองเท้า
v v v v อุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์โลหะและการปั๊มโลหะ
อุตสาหกรรมผลิตเครื่องแต่งกายจากผ้า รีดโดยใช้เตารีดไอน้ำ
อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม การแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์
v v v อุตสาหกรรมผลิตผลิตภัณฑ์เครื่องเรือน เครื่องใช้ไม้
ผลิตเป็นเม็ดพลาสติกสี
อุตสาหกรรมผลิต ประกอบชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิคส์ - ไฟฟ้า
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) หน่วยและปริมาณทางไฟฟ้า
การสั่งการและ การมอบหมายงาน
ความเสี่ยงด้านอุปกรณ์และเครื่องจักรกล แนวทางการป้องกัน
กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับไฟฟ้าพ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบ Introduction to the System
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
นายวิเชียร มีสม 1 วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ หน่วยการเรียนที่ 3 สอนโดย นายวิเชียร มีสม เรื่อง การป้องกันอุบัติภัย เรื่อง.
รูปแบบการเชื่อมโยงเครือข่าย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
ศูนย์อำนวยการจราจร และลดอุบัติเหตุทางถนน ตำรวจภูธรจังหวัดบุรีรัมย์
บทที่6 การควบคุมคุณภาพและปริมาณ
การตรวจความปลอดภัย วัตถุประสงค์การตรวจความปลอดภัย
อุบัติเหตุจากการทำงาน
งานช่าง.
การเลือกสถานที่ตั้งโรงงาน
บทที่1 การบริหารการผลิต
โครงการจัดทำชุดควบคุมก๊าซ LPG รั่วไหล แบบอัตโนมัติ ให้กับแหล่งจ่ายกลางก๊าซในโรงอาหาร โรงพยาบาลหนองบุญมาก จังหวัดนครราชสีมา.
มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ สำนักมาตรการป้องกันสาธารณภัย
ประกาศกรมธุรกิจพลังงาน เรื่อง การกำหนดบริเวณอันตราย ในการติดตั้งระบบไฟฟ้า เครื่องใช้ไฟฟ้า อุปกรณ์ไฟฟ้า และบริภัณฑ์ของสถานที่ใช้ก๊าซปิโตรเลียมเหลว พ.ศ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความปลอดภัยในการทำงาน             กระแสไฟฟ้า ที่ใช้ในโรงงานอุตสาหกรรมใช้เป็นตัวต้นกำลังให้กับเครื่องจักรต่าง ๆ มีอันตรายมาก ที่สุดและ รวดเร็ว ที่สุดเมื่อเข้าไปสัมผัส แต่กลายเป็นเรื่องที่ทุกคนมองข้ามไป ผู้มีส่วน เกี่ยวข้อง ควรมีความ รู้ความ เข้า ใจ ในการทำงาน เกี่ยว กับไฟฟ้า ในอุตสาหกรรมไทย กระแสไฟฟ้าที่ใช้ มีแรงเคลื่อน 220 โวลท์ และ 380 โวลท์ ความถี่ 50 เฮิร์ท เรานำ ไฟฟ้ามา ใช ้ ใน รูปแบบต่างๆ ดังนี้   1. เป็นต้นกำลังพลังงานกล 2. เป็นแหล่งให้แสงสว่าง 3. เป็นแหล่งให้ความร้อน โดยต่อเข้ากับขดลวดชุดความร้อน 4. เป็นแหล่งหรือสื่อกลางของการสื่อสาร 5. เป็นแหล่งให้พลังงานกับอุปกรณ์ 6. เป็นแหล่งใหัอำนาจแม่เหล็กกับอุปกรณ์ 7. เป็นแหล่งให้เกิดปฏิกิริยาเคมี

สาเหตุสำคัญของการเกิดอุบัติเหตุจากไฟฟ้า 1. จากตัวคนงานเอง 2. จากระบบการบริหาร 3.ขาดช่างเทคนิคที่มีความสามารถ และมีจำนวนไม่เพียงพอกับงาน บางโรงงานไม่มีช่างไฟฟ้า ประจำหรือมีน้อย จนทำให้ทำงานไม่ทัน ขาดการเอาใจใส่จากผู้บังคับบัญชา 4.เข้าใจผิดว่า ไฟฟ้าเป็นเรื่องที่ใคร ๆ ก็ทำได้จึงมองข้ามความสำคัญของช่างไฟฟ้า 5.อุปกรณ์ไฟฟ้าในประเทศมีราคาแพง มีของเลียนแบบที่ถูกกว่าอยู่มาก จึงมีการใช้ของที่มีคุณภาพต่ำ กว่ามาตรฐาน โดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์ ทำให้ระบบไฟฟ้าในโรงงานไม่มีมาตรฐานเพียงพอ 6.ในการซ่อมแซมเครื่องจักรกลที่มีไฟฟ้าอยู่ด้วย มักทำโดยไม่มีระบบ ลอคเอ๊าท์ 7.ขาดการประสานงานที่ดี ระหว่างฝ่ายผลิตกับซ่อมบำรุง ทำให้เข้าใจผิดในการสั่งงาน อาจทำให้เกิด อันตรายได้ ข้อควรระวังในการทำงานเกี่ยวกับไฟฟ้า

การติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้า 1. การติดตั้งต้องดูแลโดยช่างหรือผู้ชำนาญ เว้นแต่งานที่มีความต่างศักย์ต่ำกว่า 50 โวลท์ ซึ่งต่อลงดิน เรียบร้อยแล้ว 2. การติดตั้งต้องผ่านการปรึกษาหารือ จากผู้ชำนาญ โดยเฉพาะการสื่อสารเมื่อมีการทำงานในขณะกระแสไฟฟ้าไหลอยู่ 3. การติดตั้งอุปกรณ์ต้องใช้อุปกรณ์ป้องกันโดยเฉพาะ หรือมีแนวนหุ้มดี 4. ไม่ควรทำงานในขณะที่กระแสไฟฟ้าไหลอยู่ 5. การติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้าต้องปฏิบัตตามกฎหมายและมาตรฐานทางไฟฟ้า

การติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้า 6. ห้ามเปิดชิ้นส่วนอุปกรณ์ไฟฟ้า ที่เมื่อเปิดแล้วจะมีกระแสไฟฟ้าไหลควรใช้ฝาครอบหรือฉนวนกั้น 7. อุปกรณ์หรือสายไฟฟ้าที่ติดตั้งในที่สูง ต้องมีฉนวนหุ้มอย่างดี ตรวจสอบความเรียบร้อยอยู่เสมอ 8. เมื่อมีการอุปกรณ์ไฟฟ้าบนถนน ควรมีระบบป้องกันอันตรายเฉพาะงาน 9. หมั่นตรวจสอบฉนวนหุ้ม อุปกรณ์อยู่เสมอ ในบริเวณที่อาจสัมผัส หรือทำงาน 10. กรณีการทำงานเกี่ยวกับไฟฟ้า ที่อาจมีการขัดจังหวะงานได้ ควรระวัง 11. เครื่องจักรทุกชนิดควรมีระบบสายดินที่ดี 12. เครื่องจักรบางชนิดที่สับสวิทช์ให้ทำงานแล้วไม่สามารถกดสวิทช์ให้มาทำงานที่จุดเริ่มต้นได้ ควรม ีป้ายบอกไว้ชัดเจน 13. ต้องมีการถ่ายเทประจุไฟฟ้าเมื่อเครื่องมือนั้นมีประจุค้างอยู่

การกระทำที่ไม่ปลอดภัย (Unsafe Act) หมายถึง การกระทำหรือการปฏิบัติงานของคนที่มีผลทำให้เกิดความไม่ปลอดภัยกับตนเองและผู้อื่น เช่น * การทำงานไม่ถูกวิธี หรือไม่ถูกขั้นตอน เช่น ยกของด้วยท่าทางที่ผิด * ความประมาท พลั้งเผลอ เหม่อลอย * ถอดเครื่องกำบังเครื่องจักร * ใช้เครื่องมือไม่เหมาะสมกับงาน

การกระทำที่ไม่ปลอดภัย (Unsafe Act) * การไม่ปฏิบัติตามกฎระเบียบ * การมีทัศนคติที่ไม่ถูกต้อง เช่น อุบัติภัยเป็นเรื่องของเคราะห์กรรมแก้ไขป้องกันไม่ได้ * การทำงานโดยที่ร่างกายและจิตใจไม่พร้อมหรือผิดปกติ เช่น ไม่สบาย เมาค้าง มีปัญหาครอบครัว ทะเลาะกับแฟน เป็นต้น * การใช้เครื่องมือหรืออุปกรณ์ต่างๆไม่เหมาะสมกับงานเช่นการใช้ขวดแก้วตอกตะปูแทนการใช้ค้อน ฯลฯ