สรุปการประชุมสัมมนา ภาควิชาสัตวศาสตร์ สัตวบาลแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 10

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความต้องการกำลังคนสาขาระบบสมองกลฝังตัว
Advertisements

เปรียบเทียบครุศาสตร์อุตสาหกรรมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ  
รายงานสรุปผลการประชุมระหว่างทูต CEO กับผู้ว่าฯ CEO
แนวทางการรายงานผลการ ดำเนินการ ตั้วบ่งชี้ที่ สกอ
การเผยแพร่บทความวิชาการจากรายงานวิจัย
ชื่อ กนกภรณ์ นามสกุล บุญทรง รหัสนักศึกษา ชั้นปีที่ 2 ภาควิชา พัฒนาการเกษตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่
ชื่อ นางสาว สุนิสา แก้วจารนัย
การประกันคุณภาพการศึกษา
การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ (Student Center)
LOGO โครงการประชุมสัมมนาถ่ายทอดนโยบาย ของมหาวิทยาลัยสู่ ผู้บริหารระดับหัวหน้า ภาควิชา สาขาวิชา “70 ปี มหาวิทยาลัยศิลปากร : โอกาสและ ศักยภาพการเป็นผู้นำ.
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
คณะผู้วิจัย ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
คณาจารย์ระดับอุดมศึกษา รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
คุยกันก่อนเรียน สัมมนาสัตวศาสตร์ ปีการศึกษา 2551.
27 ตุลาคม 2551 ณ ศูนย์ประชุมอุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสัมมนา
หลักสูตรการจัดการทั่วไป
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การเตรียมการและการกำหนดท่าทีในการเจรจาต่อรองในระดับสากล
วันที่ 10 ตุลาคม 2556 ณ ห้องประชุม ส.ส.ส.
ลักษณะและประเด็นวิจัย สำหรับคณาจารย์สถาบันอุดมศึกษา
Future Agriculture Wullop Santipracha March 2008.
ภาควิชาพืชไร่ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
กรอบความร่วมมือด้านผลิตภัณฑ์อาหารสำเร็จรูป
1 ปี มก. กำหนดให้เป็นปีแห่ง การพัฒนาคุณภาพและ จัดการวิชาการ ปี มก. กำหนดให้เป็นปีแห่ง การพัฒนาคุณภาพและ จัดการวิชาการ ศาสตราจารย์ ดร.
ผศ.ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
โดย สมภพ อมาตยกุล 21 กันยายน 2548
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก ประกอบด้วย 4 วิทยาเขต
ประชุมสร้างความเข้าใจ นำนโยบายสู่การปฏิบัติ โครงสร้าง และแผนปฏิบัติการ
โครงการ การปลูกพืชพันธุ์ไม้
ตาม พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542
แผนพัฒนางาน ฝ่ายประชาสัมพันธ์ เพื่อสนับสนุนงานวิชาการในการรองรับ AEC
เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา
ลักษณะของรายงาน 1. คำนำ 2. สารบัญ 3. เนื้อหาที่รายงาน
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ทิศทางการพัฒนาวิทยาเขตขอนแก่น
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
นำเสนอโดย : นายเสน่ห์ แสงคำ
การพัฒนาระบบสารสนเทศ:องค์กรขนาดเล็ก
สรุปผลการส่งเสริมพัฒนาการเด็กวัย ๐ - ๕ ปี ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
การสัมมนาการประกันคุณภาพการศึกษา เรื่อง “การพัฒนาคุณภาพนักศึกษาด้านวิชาการ” วันที่ 12 กันยายน 2552 ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การวิจัยเพื่อท้องถิ่น: ความรู้เพื่อเสริมความแกร่ง (เข้มแข็ง) ของชุมชน
ศูนย์ศึกษาและพัฒนาลำไยหริภุญชัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
อาจารย์ระดับอุดมศึกษา รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
วิจัยอย่างไร ไม่ให้เป็นภาระ แต่เป็นส่วนหนึ่ง ของการเรียนการสอน
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
วิจัยเพื่อชุมชน : การประเมินและถ่ายทอดเทคโนโลยีเกษตรยั่งยืน
แนวทางการจัดทำ SAR การเตรียมข้อมูล รูปแบบรายงาน การนำเสนอ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาระดับ ปวส
ภายใต้โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 : โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา.
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
โดย นายคันฉัตร ตันเสถียร รองผู้ว่าราชการจังหวัดอุบลราชธานี
การบริหารวิชาการและการเรียนการสอน
แนวปฏิบัติที่ดีในการพัฒนาการ เรียนรู้ของบัณฑิต ที่พึงประสงค์ ตามแนวทาง TQF.
ชุดโครงการวิจัย ระบบสนับสนุนการตัดสินใจในการปลูกยางพาราในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ: กรณีศึกษาจังหวัดอุบลราชธานี (Decision Support System for Rubber Plantation.
กลุ่ม A2 “ข้าวเด้ง”.
โครงการวิจัย เรื่อง การศึกษาการบริหารจัดการขยะและเทคโนโลยีที่เหมาะสมโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน.
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาหม้อแปลงไฟฟ้า เรื่องการสร้างหม้อแปลงไฟฟ้าขนาดเล็ก ด้วยกิจกรรมแบบเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ.
สรุปวิธีสอนที่ใช้ในการฝึกอบรม
การสัมมนาเพื่อจัดทำแผน ยุทธศาสตร์การดำเนินงาน เครือข่ายสถาบันอุดมศึกษาเขตภาค กลาง เพื่อพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย วันพฤหัสบดีที่ 25 พฤศจิกายน 2553 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สรุปภารกิจของฝ่ายสารสนเทศ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ผศ. ดร. พีรพงษ์ บุญสวัสดิ์กุลชัย.
ประกอบด้วย จังหวัด 1. ลำพูน 2. อุบลราชธานี 3. สุพรรณบุรี 4. สุรินทร์
โครงการจัดตั้งสายวิชาบริหารธุรกิจและเศรษฐศาสตร์
นายขวัญชัย ดวงทนัน วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สรุปการประชุมสัมมนา ภาควิชาสัตวศาสตร์ สัตวบาลแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 10 สรุปการประชุมสัมมนา ภาควิชาสัตวศาสตร์ สัตวบาลแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 10 ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 21-23 พค. 2540 ณ.โรงแรมทอแสงโขงเจียมรีสอร์ท

วัตถุประสงค์ 1. พัฒนาการเรียนการสอนหลักสูตร สัตวศาสตร์/ สัตวบาลให้มีความทันสมัย 2. สร้างความคุ้นเคยระหว่างบุคลากรต่างสถาบัน 3. แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ในการพัฒนา

นายสมหมาย ฉัตรทอง รองผู้ว่าราชการจังหวัด กล่าวต้อนรับ

ผศ. ดร.วรพงษ์ สุริยจันทราทอง คณบดีคณะเกษตรศาสตร์ กล่าวรายงาน

รศ. ดร.สมจิตต์ ยอดเศรณี อธิการบดี ฯ เปิดงาน

การบรรยายพิเศษ “ผลกระทบของการค้าโลกที่มีต่อทิศทางการเรียนการสอนและการวิจัยทางด้านปศุสัตว์” ดร. นิพนธ์ พัวพงศกร รองประธาน TDRI

ผลกระทบของการเจรจารอบอุรุกวัย ที่มีต่อภาคเกษตรของไทย 1. การเปิดตลาด 2. การลดการอุดหนุนการส่งออก 3.การลดการอุดหนุนในประเทศ ข้อตกลงที่สำคัญต่อไทยอีก 2 ข้อ 1. มาตราการสุขอนามัย (SPS) 2. ข้อตกลงเรื่องสินค้าเขตร้อน (Tropical products)

- การปรับโครงสร้างทางการเกษตรให้รักษา ขีดความสามารถในการแข่งขันระหว่าง ประเทศ -มุ่งเน้นการวิจัยด้านการเกษตร (ปศุสัตว์, ข้าว)

ศ.ดร.กนก ภาวสุทธิไพศิฐ เทคโนโลยีชีวภาพกับการพัฒนาปศุสัตว์ไทย - การวิจัยตัวอ่อนและการย้ายฝากกับการพัฒนาประเทศ

1. การเจาะเก็บเซลล์ไข่จากแม่โคตัวให้โดยเครื่องอัตราซาวด์ 2. การเพาะเลี้ยงเซลล์ไข่ 3.การฉีดเซลล์อสุจิเพื่อการปฏิสนธิกับเซลล์ไข่ 4. การเพาะเลี้ยงตัวอ่อนในหลอดทดลอง 5. การแช่แข็งตัวอ่อน 6. การเลือกเพศตัวอ่อน 7. การย้ายฝากตัวอ่อน

การพัฒนาหลักสูตรสัตวศาสตร์ สัตวบาลสู่ความเป็นสากล การอภิปราย การพัฒนาหลักสูตรสัตวศาสตร์ สัตวบาลสู่ความเป็นสากล วิทยากร ศ.ดร.จรัญ จันทลักขณา รศ.ดร.กนก ผลารักษ์ คุณศิริ ชมชาญ ผู้ดำเนินการอภิปราย รศ.ดร.ณรงค์ หุตานุวัตร ดร.วัชรพงษ์ วัฒนกูล

- ความเป็นสากล มีความเป็นตัวของตัวเอง แต่มีมาตรฐาน - การปรับหลักสูตรให้มาตราฐาน โดยขึ้นอยู่กับเงื่อนไขของแต่ละสถาบันว่าต้องการผลิตบัณฑิตไปในด้านใด ทั้งนี้อาจใช้ภูมิปัญญาไทย หรือต่างประเทศก็ได้ - มุ่งเน้นการพัฒนาบุคคลากรและวิธีการสอน

การสาธิตโปรแกรมสำเร็จรูปที่เกี่ยวข้องกับสาขาสัตวศาสตร์/สัตวบาล

แนวทางการพัฒนาและนำคอมพิวเตอร์มาใช้ทางสาขาสัตวศาสตร์/สัตวบาล การอภิปราย แนวทางการพัฒนาและนำคอมพิวเตอร์มาใช้ทางสาขาสัตวศาสตร์/สัตวบาล วิทยากร 1. อ.ศักดิ์ชัย โตภาณุรักษ์ 2. อ.ไพบูลย์ ใจเด็ด 3. อ.อนุรัตน์ ลิ่มสกุล 4. รศ.สุพัตร์ ฟ้ารุ่งสาง ผู้ดำเนินการอภิปราย รศ.นสพ.วิวัฒน์ ชวนะนิกุล

1. Software ( Internet, CAI, การจัดการฟาร์ม) 2. Hardware 3. People ware (พัฒนา programmer, User) 4. อื่นๆ (ความร่วมมือ, เงินทุน, ความยอมรับจากวงการภายนอก)

กลุ่มย่อยที่ 1 การพัฒนาหลักสูตรสัตวศาสตร์ รศ.ดร.จำเนียร ยศราช ประธาน 1. พัฒนาหลักสูตรให้เป็นสากล * ควรปรับปรุงเนื้อหาภายในและวิธีการสอน * ปรับเป็นระยะ (ไม่ปฏิรูป) * คำนึงถึงภูมิปัญญาไทย

แนวทางปฏิบัติ - ปรับปรุงจุดเด่นของแต่ละสถาบัน แต่ต้องมีมาตราฐานเป็นสากล - มีรายงานความก้าวหน้าของแต่ละ สถาบันในการประชุมทุกครั้ง

2. ความพร้อมของบุคลากร สาขาที่ได้รับการสนับสนุนน้อย ต้องพยายามช่วยเหลือตนเองและช่วยกันและกัน แนวทางปฏิบัติ - ใช้ IT - สมาคมเป็นศูนย์รวบรวมข้อมูลและฝึกอบรม - มีเกณฑ์ประเมินผู้สอน

3. ความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน - ศึกษาหาแนวทางร่วมมือระหว่างสถาบัน -ควรมีการให้บริการหน่วยงานเอกชนมากขึ้น แต่อยู่ในเกณฑ์ของทบวง

กลุ่มย่อยที่ 2 การพัฒนาและการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ทางสาขาฯ 1. Internet - รวบรวม E-mail address ของแต่ละ สถาบัน - จัดอบรมเทคนิคพิเศษทางด้าน Internet

2. CAI - มีหลายสถาบันที่กำลังดำเนินการอยู่ ให้ความร่วมมือซึ่งกันและกัน 3. มีการสรุป soft ware ที่หลายสถาบันได้คิดค้น หรือใช้ช่วยในการเรียนการสอน

ใครเอ่ย? สวัสดี จาก ม.อบ.