สรุปการประชุมสัมมนา ภาควิชาสัตวศาสตร์ สัตวบาลแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 10 สรุปการประชุมสัมมนา ภาควิชาสัตวศาสตร์ สัตวบาลแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 10 ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 21-23 พค. 2540 ณ.โรงแรมทอแสงโขงเจียมรีสอร์ท
วัตถุประสงค์ 1. พัฒนาการเรียนการสอนหลักสูตร สัตวศาสตร์/ สัตวบาลให้มีความทันสมัย 2. สร้างความคุ้นเคยระหว่างบุคลากรต่างสถาบัน 3. แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ในการพัฒนา
นายสมหมาย ฉัตรทอง รองผู้ว่าราชการจังหวัด กล่าวต้อนรับ
ผศ. ดร.วรพงษ์ สุริยจันทราทอง คณบดีคณะเกษตรศาสตร์ กล่าวรายงาน
รศ. ดร.สมจิตต์ ยอดเศรณี อธิการบดี ฯ เปิดงาน
การบรรยายพิเศษ “ผลกระทบของการค้าโลกที่มีต่อทิศทางการเรียนการสอนและการวิจัยทางด้านปศุสัตว์” ดร. นิพนธ์ พัวพงศกร รองประธาน TDRI
ผลกระทบของการเจรจารอบอุรุกวัย ที่มีต่อภาคเกษตรของไทย 1. การเปิดตลาด 2. การลดการอุดหนุนการส่งออก 3.การลดการอุดหนุนในประเทศ ข้อตกลงที่สำคัญต่อไทยอีก 2 ข้อ 1. มาตราการสุขอนามัย (SPS) 2. ข้อตกลงเรื่องสินค้าเขตร้อน (Tropical products)
- การปรับโครงสร้างทางการเกษตรให้รักษา ขีดความสามารถในการแข่งขันระหว่าง ประเทศ -มุ่งเน้นการวิจัยด้านการเกษตร (ปศุสัตว์, ข้าว)
ศ.ดร.กนก ภาวสุทธิไพศิฐ เทคโนโลยีชีวภาพกับการพัฒนาปศุสัตว์ไทย - การวิจัยตัวอ่อนและการย้ายฝากกับการพัฒนาประเทศ
1. การเจาะเก็บเซลล์ไข่จากแม่โคตัวให้โดยเครื่องอัตราซาวด์ 2. การเพาะเลี้ยงเซลล์ไข่ 3.การฉีดเซลล์อสุจิเพื่อการปฏิสนธิกับเซลล์ไข่ 4. การเพาะเลี้ยงตัวอ่อนในหลอดทดลอง 5. การแช่แข็งตัวอ่อน 6. การเลือกเพศตัวอ่อน 7. การย้ายฝากตัวอ่อน
การพัฒนาหลักสูตรสัตวศาสตร์ สัตวบาลสู่ความเป็นสากล การอภิปราย การพัฒนาหลักสูตรสัตวศาสตร์ สัตวบาลสู่ความเป็นสากล วิทยากร ศ.ดร.จรัญ จันทลักขณา รศ.ดร.กนก ผลารักษ์ คุณศิริ ชมชาญ ผู้ดำเนินการอภิปราย รศ.ดร.ณรงค์ หุตานุวัตร ดร.วัชรพงษ์ วัฒนกูล
- ความเป็นสากล มีความเป็นตัวของตัวเอง แต่มีมาตรฐาน - การปรับหลักสูตรให้มาตราฐาน โดยขึ้นอยู่กับเงื่อนไขของแต่ละสถาบันว่าต้องการผลิตบัณฑิตไปในด้านใด ทั้งนี้อาจใช้ภูมิปัญญาไทย หรือต่างประเทศก็ได้ - มุ่งเน้นการพัฒนาบุคคลากรและวิธีการสอน
การสาธิตโปรแกรมสำเร็จรูปที่เกี่ยวข้องกับสาขาสัตวศาสตร์/สัตวบาล
แนวทางการพัฒนาและนำคอมพิวเตอร์มาใช้ทางสาขาสัตวศาสตร์/สัตวบาล การอภิปราย แนวทางการพัฒนาและนำคอมพิวเตอร์มาใช้ทางสาขาสัตวศาสตร์/สัตวบาล วิทยากร 1. อ.ศักดิ์ชัย โตภาณุรักษ์ 2. อ.ไพบูลย์ ใจเด็ด 3. อ.อนุรัตน์ ลิ่มสกุล 4. รศ.สุพัตร์ ฟ้ารุ่งสาง ผู้ดำเนินการอภิปราย รศ.นสพ.วิวัฒน์ ชวนะนิกุล
1. Software ( Internet, CAI, การจัดการฟาร์ม) 2. Hardware 3. People ware (พัฒนา programmer, User) 4. อื่นๆ (ความร่วมมือ, เงินทุน, ความยอมรับจากวงการภายนอก)
กลุ่มย่อยที่ 1 การพัฒนาหลักสูตรสัตวศาสตร์ รศ.ดร.จำเนียร ยศราช ประธาน 1. พัฒนาหลักสูตรให้เป็นสากล * ควรปรับปรุงเนื้อหาภายในและวิธีการสอน * ปรับเป็นระยะ (ไม่ปฏิรูป) * คำนึงถึงภูมิปัญญาไทย
แนวทางปฏิบัติ - ปรับปรุงจุดเด่นของแต่ละสถาบัน แต่ต้องมีมาตราฐานเป็นสากล - มีรายงานความก้าวหน้าของแต่ละ สถาบันในการประชุมทุกครั้ง
2. ความพร้อมของบุคลากร สาขาที่ได้รับการสนับสนุนน้อย ต้องพยายามช่วยเหลือตนเองและช่วยกันและกัน แนวทางปฏิบัติ - ใช้ IT - สมาคมเป็นศูนย์รวบรวมข้อมูลและฝึกอบรม - มีเกณฑ์ประเมินผู้สอน
3. ความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน - ศึกษาหาแนวทางร่วมมือระหว่างสถาบัน -ควรมีการให้บริการหน่วยงานเอกชนมากขึ้น แต่อยู่ในเกณฑ์ของทบวง
กลุ่มย่อยที่ 2 การพัฒนาและการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ทางสาขาฯ 1. Internet - รวบรวม E-mail address ของแต่ละ สถาบัน - จัดอบรมเทคนิคพิเศษทางด้าน Internet
2. CAI - มีหลายสถาบันที่กำลังดำเนินการอยู่ ให้ความร่วมมือซึ่งกันและกัน 3. มีการสรุป soft ware ที่หลายสถาบันได้คิดค้น หรือใช้ช่วยในการเรียนการสอน
ใครเอ่ย? สวัสดี จาก ม.อบ.