สรุปผลงาน ปีงบประมาณ 2552 ( ตุลาคม กันยายน 2552 )

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การนำเสนอนวัตกรรม งานเภสัชกรรม.
Advertisements

ห้องประชุมสานฝัน โรงพยาบาลสังขะ
Medication reconciliation
การประเมินการใช้ยา Nimesulide (Nidol)
การดำเนินงานด้านอนามัยการเจริญพันธุ์
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
Risk Management JVKK.
สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สรรคุณค่าวิชาการ สู่สังคม
การหาความเที่ยงของการจำแนกประเภท ผู้ป่วยด้วยระบบ IRR Testing
นาวาอากาศตรีหญิง พรประภา โลจนะวงศกร
ความคลาดเคลื่อนในการให้ยา
โครงการเครือข่ายสารสนเทศระบบยา
การอบรม อสม. รุ่น 2 เป้าหมาย อสม.รุ่น 1 - อสมช. ด้านโรคความดันโลหิตสูง
สถานการณ์/สภาพปัญหาวัยรุ่น
โครงการพัฒนาโรงพยาบาลราชบุรี บริการฉับไว ไร้ความแออัด
แนวทางการบริหารจัดการระบบประกันสุขภาพ ในภาพรวม ปีงบประมาณ 2551
นโยบายการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อขับเคลื่อนการคลังภาคสุขภาพ
Lean ภาควิชาจิตเวชศาสตร์.
ผลและแผนการดำเนินงานอนามัยการเจริญพันธุ์
4 เมษายน 2560 หมวด 7 result.
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
งานบริหารความเสี่ยง Risk management (RM)
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
แม่วัยรุ่น (Teenage Mothers) ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 25 มิถุนายน 2551.
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 31 มีนาคม 2551.
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 31 สิงหาคม 2551.
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
บริบาลเภสัชกรรม รวดเร็วปลอดภัย คลินิกเด็กหัวใจสีเหลือง.
กลุ่มข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข
สรุปการประชุม เขต 10.
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
ประเด็นการตรวจราชการ กฎหมายและการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ
แนวทางการบริหารกองทุน ที่จ่ายตามเกณฑ์คุณภาพ ปีงบประมาณ 2552
วัตถุประสงค์ การส่งสริมสุขภาพป้องกัน และเฝ้าระวังโรค
สรุปบทเรียนโครงการแก้ไขปัญหาทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
การรายงาน ADR/ การป้องกันการแพ้ยาซ้ำ
Waiting time (OPD) ตามมาตรฐานงานเภสัชกรรมโรงพยาบาล
โรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช
ตัวชี้วัด เป้าหมาย แนวทางดำเนินงาน ของกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค
ผู้ป่วยเข้านิยามอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่จำนวนทั้งหมด 85 ราย (อัตราป่วย)
สารสนเทศกับการพัฒนางาน โรงพยาบาล
หลักการ วิเคราะห์ คำนวณภาระงาน และคำนวณ FTE ของบุคลากรแต่ละกลุ่ม
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ปี 2557
โรงพยาบาลเฉลิมพระเกียรติ
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
การจัดการระบบยา เพื่อ ความปลอดภัย บันไดขั้น 2 สู่ ขั้น 3.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน กรกฎาคม 2556 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
มีอำนาจหน้าที่ตามกฎกระทรวง
ระเบียบ ก.พ. ว่าด้วยเงินเพิ่มสำหรับตำแหน่งที่มีเหตุพิเศษ ของผู้ปฏิบัติงานด้านการสาธารณสุข พ.ศ. 2548
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน มีนาคม 2556 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
ผลการตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 1
โครงการลดปัญหาสุขภาพจากระบบสืบพันธุ์
ทันตสาธารณสุข นำเสนอความสำเร็จตัวชี้วัด Functionปี 54
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2555 เดือนมกราคม
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ประจำปีงบประมาณ 2554.
มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2555 เดือนพฤศจิกายน.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน พฤศจิกายน 2555 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สรุปผลงาน ปีงบประมาณ 2552 ( ตุลาคม 2551 - กันยายน 2552 ) สรุปผลงาน ปีงบประมาณ 2552 ( ตุลาคม 2551 - กันยายน 2552 ) งานเภสัชกรรมและแพทย์แผนไทย

งานเภสัชกรรมบริการ 1.งานบริการผู้ป่วยนอก 2.งานบริการผู้ป่วยใน 3.งานเภสัชกรรมคลินิก

งานเภสัชกรรมและแพทย์แผนไทย กรอบอัตรากำลังงานงานเภสัชกรรมบริการ เภสัชกร จำนวน 4 อัตรา จ.พ.เภสัชกรรม จำนวน 3 อัตรา ลูกจ้าง จำนวน 2 อัตรา งานเภสัชกรรมและแพทย์แผนไทย

หน้าที่ความรับผิดชอบ การจัดยา การจ่ายยาและแนะนำการใช้ยา งานบริการจ่ายยาคลินิกพิเศษ การติดตามและเฝ้าระวังการเกิดอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา การบริการให้คำแนะนำปรึกษาปัญหาด้านยา การบริการข้อมูลข่าวสารด้านยา /จดหมายข่าว การติดตามความคลาดเคลื่อนทางยา การติดตามปัญหาจากการใช้ยา การควบคุมการสำรองยาในหอผู้ป่วย การให้ความรู้ด้านยาแก่บุคลากร/นักเรียน/นักศึกษา/บุคคลทั่วไป การเฝ้าระวังการใช้ยาในกลุ่มผู้ป่วยกลุ่มพิเศษ เช่น หญิงตั้งครรภ์,ให้นมบุตร,ภาวะพร่องเอ็นไซม์ G6PD การติดตามเครื่องชี้วัดของหน่วยงาน งานควบคุมกาสำรองยาสำหรับผู้ป่วยคลินิกพิเศษ การสนับสนุนทางเภสัชกรรมกับสถานีอนามัยเครือข่าย

กราฟเปรียบเทียบจำนวนผู้รับบริการจัดและจ่ายยา ปีงบประมาณ 2551 / 2552

จำนวนผู้รับบริการจ่ายยาประเภทผู้ป่วยใน

จำนวนผู้รับบริการจ่ายยาประเภทผู้ป่วยนอก

จำนวนผู้รับบริการจ่ายยาประเภทผู้ป่วยคลินิกนอกเวลา

สรุปการให้บริการคลินิคนอกเวลาแยกตามสิทธิ ตุลาคม 51 - กันยายน 52 จำนวนผู้รับบริการเฉลี่ย 65 คน ต่อวัน

ดัชนีชี้วัดคุณภาพ 1. อุบัติการณ์การจัดยาผิด 2. อุบัติการณ์การจ่ายยาผิด 3. อัตราการพบคำร้องเรียน/ข้อเสนอแนะในทางลบ 4.จำนวนผู้รับบริการที่รอรับยานานเกิน 10 นาที

อุบัติการณ์การจัดยาผิด เป้าหมาย :ไม่เกิน 1 % อุบัติการณ์การจัดยาผิด เป้าหมาย :ไม่เกิน 1 %

อุบัติการณ์การจ่ายยาผิด เป้าหมาย : 0.5 % อุบัติการณ์การจ่ายยาผิด เป้าหมาย : 0.5 %

3. อัตราการพบคำร้องเรียน/ข้อเสนอแนะในทางลบ เป้าหมาย 0 % ระดับที่ปฏิบัติได้ ไม่พบคำร้องเรียน/ข้อเสนอใน ทางลบ

4. จำนวนผู้รับบริการที่รอรับยานานเกิน 10 นาที เป้าหมาย ไม่เกิน 5 % ระดับที่ปฏิบัติได้ 1.15 %

งานบริการข้อมูลข่าวสารและเภสัชกรรมคลินิก

การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากผลิตภัณฑ์สุขภาพ จำนวนรายงานผู้ป่วยแพ้ยา : รวม 32 ฉบับ (ไม่พบผู้ป่วยแพ้ยาซ้ำ) : OPD 16 คน IPD 16 คน ( เป้าหมายตาม KPI. อย่างน้อย ปีละ 10 ฉบับ )

กลุ่มอายุ : 1 - 20 ปี 14 คน : 21 - 40 ปี 7 คน : 41 - 60 ปี 5 คน กลุ่มอายุ : 1 - 20 ปี 14 คน : 21 - 40 ปี 7 คน : 41 - 60 ปี 5 คน : 61 ปี ขึ้นไป 6 คน ความรุนแรง ระดับ ไม่ร้ายแรง จำนวน 32 ราย

กลุ่มอาการ APR ที่พบ 1. ผื่นคัน 26 ราย จากยา Ceftriaxone inj. , Diclofenac inj. , Amoxicillin cap. Penicillin tab. , Hyoscine syr. , Ibuprofen syr. Ciprofloxacin inj. , Cefaclor syr. , Co-trimoxazol tab. , Metronidazol inj. 2. ปากแห้ง คอแห้ง 2 ราย จากยา Dimenhydrinate inj. 3. เจ็บแน่นหน้าอก 1 ราย จากยา . Amoxicillin syr. 4. หน้าตาบวม 1 ราย จากยา Diclofenac inj. , Amoxi + Clav. Syr. , Amoxicillin syr.

1. อุบัติการณ์การเกิดการแพ้ยาซ้ำ เป้าหมาย ไม่พบ ( 0% ) ดัชนีชี้วัดคุณภาพ 1. อุบัติการณ์การเกิดการแพ้ยาซ้ำ เป้าหมาย ไม่พบ ( 0% ) ระดับที่ปฏิบัติได้ ไม่พบการเกิดการแพ้ยาซ้ำ

การเฝ้าระวังความคลาดเคลื่อนทางยา ( medication error ) พบความคลาดเคลื่อนก่อนถึงตัวผู้ป่วย 97.80 % พบความคลาดเคลื่อนขึ้นกับตัวผู้ป่วยแต่ไม่ทำให้ผู้ป่วย ได้รับอันตราย 2.1 % เกิดความคลาดเคลื่อนขึ้นกับผู้ป่วยต้องการการเฝ้าระวังเพื่อให้มั่นใจว่าไม่เกิดอันตรายแก่ผู้ป่วย 0.1%

กิจกรรมพัฒนาคุณภาพที่ผ่านมา 1. การลดความคลาดเคลื่อนในการจัดและจ่ายยา 2. การเฝ้าระวังการเกิดอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยาในระดับรุนแรง 3. การบริหารจัดการยาในกลุ่ม HIGH ALERT DRUG

กิจกรรมพัฒนาคุณภาพปี 2553 การพัฒนาแนวทางปฏิบัติงานเพื่อให้ผู้ป่วยเกิดความเข้าใจในการใช้ยา ( OPD Counselling ) การให้คำปรึกษาด้านยาสำหรับผู้ป่วยพิเศษ ( Fulltime Counselling ) การลดการคืนยาจากหอผู้ป่วย ( Drug U-turn )