กลุ่มที่ 4
สมาชิกในกลุ่ม ได้แก่ หัวหน้าฝ่าย/เจ้าหน้าที่ สมาชิกในกลุ่ม ได้แก่ หัวหน้าฝ่าย/เจ้าหน้าที่ สำนักบริหารแรงงานต่างด้าว กองพัฒนาระบบบริการจัดหางาน กองส่งเสริมการมีงานทำ สำนักงานกองทุนเพื่อการส่งคนต่างด้าวกลับออกไปนอกราชอาณาจักร ศูนย์บริหารคอมพิวเตอร์ กลุ่มตรวจสอบภายใน สำนักงานจัดหางานจังหวัดภาคตะวันออก สำนักงานจัดหางานจังหวัดภาคตะวันตก สำนักงานจัดหางานจังหวัดภาคใต้
สมาชิกในกลุ่ม ได้แก่ หัวหน้าฝ่าย/เจ้าหน้าที่ (ต่อ) 10. สำนักงานจัดหางานจังหวัดภาคกลาง 11. สำนักจัดหางานกรุงเทพเขตพื้นที่ 2 12. สำนักจัดหางานกรุงเทพเขตพื้นที่ 4 13. สำนักจัดหางานกรุงเทพเขตพื้นที่ 6 14. สำนักจัดหางานกรุงเทพเขตพื้นที่ 8 15. สำนักจัดหางานกรุงเทพเขตพื้นที่ 10 16. ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานภูมิภาคจังหวัดราชบุรี 17. ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานภูมิภาคจังหวัดสงขลา 18. ศูนย์ข่าวสารตลาดแรงงานภูมิภาคจังหวัดระยอง
ทิศทางการทำงานของกรมการจัดหางาน ภายใต้สภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลง ประเด็นที่ 1 ทิศทางการทำงานของกรมการจัดหางาน ภายใต้สภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลง 1.1 ทบทวนและกำหนดขอบเขตอำนาจหน้าที่ให้ชัดเจนเพื่อการปฏิบัติงานที่มีคุณภาพ แนวปฏิบัติตามกฎหมาย ต้องมีความชัดเจนและเป็นทิศทางเดียวกันทั่วประเทศ 1.2 ปรับปรุงระบบสารสนเทศแรงงานต่างด้าวให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ทันสมัย รวดเร็ว ถูกต้อง เข้าถึงได้ง่าย โดยการลดขั้นตอนกับระเบียบกฎหมาย
ทิศทางการทำงานของกรมการจัดหางาน ภายใต้สภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลง (ต่อ) ประเด็นที่ 1 ทิศทางการทำงานของกรมการจัดหางาน ภายใต้สภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลง (ต่อ) 1.3 พัฒนาคุณภาพการบริหารให้มีคุณภาพ รวดเร็ว ลดขั้นตอน เป็นที่พึงพอใจของผู้ใช้บริการ 1.4 พัฒนาคุณภาพบุคลากรให้มีความเป็นมืออาชีพสำหรับงานในหน้าที่ ควรมีนิติกรประจำสำนักงานจัดหางานจังหวัด
ประเด็นที่ 2 ข้อเสนอแนวคิดปรับปรุงแผนงาน/โครงการ ประเด็นที่ 2 ข้อเสนอแนวคิดปรับปรุงแผนงาน/โครงการ โครงการบางโครงการควรจะยุบรวมให้อยู่ในแผนงานเดียวกัน เพราะบางโครงการเป็นเพียงรายละเอียดย่อย ๆ ของโครงการใหญ่ ๆ เป้าหมายคือ ควรจะยุบรวมและตั้งเป็นโครงการใหญ่ ซึ่งจะทำให้ เห็นผลที่ชัดเจนขึ้น แต่งบประมาณคงเดิม
ประเด็นที่ 2 ข้อเสนอแนวคิดปรับปรุงแผนงาน/โครงการ (ต่อ) ประเด็นที่ 2 ข้อเสนอแนวคิดปรับปรุงแผนงาน/โครงการ (ต่อ) แผนงาน/โครงการ ควรให้หน่วยผู้ปฏิบัติมีส่วนร่วมหรือกำหนด เพื่อให้แผนงาน/โครงการ มีความสอดคล้องกับความต้องการของประชาชน และสามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างแท้จริง โดยเฉพาะควรจะเป็นแผนงาน/โครงการ ที่สามารถดำเนินการได้อิสระ คล่องตัวด้วย งบประมาณที่ได้รับอย่างเหมาะสมและเห็นควรให้พื้นที่มีโอกาสเสนอโครงการใหม่ ๆ (กำหนดแนวทางในการปฏิบัติ เช่น การผลิตใบอนุญาตทำงานให้สำเร็จในจุดเดียว ไม่ซ้ำซ้อน กำหนดกิจกรรม ที่หลากหลาย มีโอกาสได้เลือก)
ประเด็นที่ 3 นำเสนอปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนวทาง เพื่อปรับปรุงแก้ไข ประเด็นที่ 3 นำเสนอปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนวทาง เพื่อปรับปรุงแก้ไข - ปัญหาด้านบุคลากรไม่พอเพียง ไม่เหมาะสมเฉพาะทาง เช่น เรื่องแนะแนววิเคราะห์ตลาดแรงงาน เรื่องกฎหมาย - พัฒนาบุคลากรที่มีอยู่ให้เชี่ยวชาญ พัฒนาประสบการณ์ กรณีตรวจต่างด้าว ควรจ้างลูกจ้างที่มีความรู้ความสามารถ มาช่วยงานตรวจสอบการทำงานของคนต่างด้าว - การบริหารจัดการภายในหน่วยงาน
ประเด็นที่ 3 นำเสนอปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนวทาง เพื่อปรับปรุงแก้ไข (ต่อ) - มติคณะรัฐมนตรีในการจัดระบบแรงงานต่างด้าว พม่า ลาว และกัมพูชาในแต่ละปีจะออกมาล่าช้า ทำให้มีเวลาในการทำความเข้าใจและประชาสัมพันธ์ให้นายจ้าง/แรงงานต่างด้าวทราบน้อยมาก - บัตร/ใบอนุญาตทำงานของแรงงานต่างด้าว ตามมติคณะรัฐมนตรีออกล่าช้าทุกปี และไม่เคยได้ทราบ
ประเด็นที่ 3 นำเสนอปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนวทาง เพื่อปรับปรุงแก้ไข (ต่อ) - การพิสูจน์สัญชาติยังเป็นปัญหาค่าใช้จ่ายสูง โดยเฉพาะแรงงานพม่ายังกลัว (ตามข่าวลือ) ถ้าไม่ผ่านบริษัทฯ คงไม่ได้ไปพิสูจน์สัญชาติ - การนำเข้า MOU ลาว กัมพูชา มีปัญหาที่มีราคาแพง หาคนงานไม่ได้ตามต้องการ และเข้ามาแล้วหนีนายจ้าง สำหรับพม่า ยังไม่มีราคาที่แน่นอนและทางการพม่ายังไม่จริงใจที่จะร่วมดำเนินการนำเข้าตามบันทึกความเข้าใจ MOU จึงยังไม่คืบหน้า
ประเด็นที่ 4 แนวทางการดำเนินงาน ตามนโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน ประเด็นที่ 4 แนวทางการดำเนินงาน ตามนโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน จะต้องมีจุดยืนในแนวทางนโยบายของการดำเนินงานที่ชัดเจน เพื่อแก้ไขปัญหาชาติอย่างแท้จริง โดยไม่มุ่งหวังเพียงผลทางการเมือง
จบการนำเสนอ ขอบคุณ