ศูนย์ประสานงานการรับส่งต่อผู้ป่วย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นำเสนอโดย นางสงวนศรี พลดอน พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลปัตตานี
Advertisements

บทที่ 3 ระดับของสารสนเทศ.
นาวาอากาศตรีหญิง พรประภา โลจนะวงศกร
การจัดการกระบวนการภายในเพื่อโครงการทดลองจ่ายค่าตอบแทนตาม ผลการปฏิบัติงาน โรงพยาบาลพาน.
โครงการพัฒนาโรงพยาบาลราชบุรี บริการฉับไว ไร้ความแออัด
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
แต่งตั้งคณะกรรมการบริหาร และพัฒนาโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตำบล
กลุ่มตัวชี้วัด : ๑) จำนวนการส่งต่อผู้ป่วยนอกเขตบริการ ลดลงร้อยละ ๕๐
การกำหนดมาตรฐานอื่นๆ เรื่องโครงสร้างกายภาพ สิ่งแวดล้อม และความปลอดภัย
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
VDO conference dengue 1 July 2013.
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
โรงพยาบาล หน่วยบริการ.
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาส พัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแล ผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 12.
ระบบบริการดี ตรวจซีดีโฟร์ ครบตามมาตรฐาน
กลุ่มงานเวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชน
โดย วัชรินทร์ จำปี รองเลขาธิการ กศน.
จังหวัดนครปฐม.
ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
กลุ่มข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
การพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
สรุปการประชุม เขต 10.
น.พ. ศิริวัฒน์ ทิยพ์ธราดล
กลุ่มที่ 13 ประกอบด้วยกลุ่มบุคคลที่มาจากหลายเขต เช่น เขต 1, 2, 3, 10, 15 มีทั้งหมด 3 ประเด็นด้วยกัน คือ 1. สรุปกระบวนการและข้อเสนอแนะการนิเทศ รพ.สต. รอบที่
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
การดำเนินงานแก้ไขปัญหา การเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด ห้องคลอด
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
โรงพยาบาลสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์
บันได 3 ขั้น ความสำเร็จในการพัฒนาคุณภาพ
ข้อคำถามที่ 1 จงตอบคำถามต่อไปนี้
ระบบรับ-ส่งต่อผู้ป่วย
สุธาทิพย์ รุ่งเรืองอนันต์ กลุ่มงานเวชกรรมสังคม
หลักการ วิเคราะห์ คำนวณภาระงาน และคำนวณ FTE ของบุคลากรแต่ละกลุ่ม
IM I-4 การวัด วิเคราะห์ performance ขององค์กร และการจัดการความรู้
การดำเนินงานวัด ความพึงพอใจ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ศูนย์อนามัยที่ 6 ปี 2551.
การประเมินคลินิกNCD คุณภาพ
:: Pitfall : การบริหารการพยาบาล ::
Point of care management Blood glucose meter
วิเคราะห์จุดอ่อน – จุดแข็ง และแนวทางแก้ไขปัญหาของงานข้อมูลสารสนเทศ ในความสัมพันธ์ระดับต่าง ๆ ของหน่วยงาน กลุ่มที่ ๔ กลุ่มงานข้อมูลสารสนเทศ.
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์
การชี้แจงตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านคุณภาพบริการ ร้อยละของอาเภอที่มีทีม miniMERT, MCATT, SRRT คุณภาพ ธีราภา ธานี พยาบาลวิชาชีพชำนาญ.
การพัฒนางานวิกฤตสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2558
ระบบส่งต่อ ยุทธศาสตร์ที่ 2 : พัฒนาและจัดระบบบริการที่มี คุณภาพมาตรฐาน ครอบคลุม ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการได้ ระบบส่งต่อ : มาตรการ : จัดทำระบบส่งต่อภายในเครือข่าย.
ประสบการณ์รพศ.อุดรธานี ในการเตรียมรับการประเมิน
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
การบริหารและพัฒนาบุคลากร HR /HRD
การวางแผนยุทธศาสตร์.
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
ทำอย่างไรให้ยั่งยืน Referral System : นพ.ธานินทร์ โลเกศกระวี
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
โรงพยาบาลอาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด
นันท์นลิน นาคะกุล พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ เมษายน 2557
เอกรัฐ บูรณะถาวรสม นักวิชาการคอมพิวเตอร์ เมษายน 2557
แนวทางการคัดแยกและเฝ้าระวังผู้ป่วยเมื่อสงสัยการติดเชื้ออีโบรา
สรุปประเด็น เรื่อง แนวคิดการจัดการรายกรณีเพื่อการดูแลต่อเนื่อง
ข้อสั่งการ ของรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การเตรียมความพร้อมรองรับ สถานการณ์น้ำท่วม 1. การป้องกันสถานที่ / ตรวจตรา / ซ่อมสร้าง ความเข้มแข็งของแนวป้องกัน.
การดำเนินงานดูแลผู้ป่วยต้อหิน จังหวัดร้อยเอ็ด 2011
เพลินพิศ เยาว์พรหมสิริ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
การเตรียมความพร้อมของหน่วยกู้ชีพใน เทศกาลปีใหม่ ปี ๒๕๕๔ ระหว่างวันที่ ๒๙ ธันวาคม ๒๕๕๓ ถึง วันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๕๔ หน่วยกู้ชีพ FR และ BLS – ตรวจเช็คสภาพรถยนต์ให้พร้อมออกปฏิบัติงาน.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ศูนย์ประสานงานการรับส่งต่อผู้ป่วย นันท์นลิน นาคะกุล พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ 28 เมษายน 2557

ได้อย่างถูกต้องเหมาะสมและปลอดภัย ระบบส่งต่อ หมายถึง การส่งต่อผู้ป่วยระหว่างสถานพยาบาลหรือ โรงพยาบาลแห่งหนึ่งไปยังอีกสถานพยาบาลหรือโรงพยาบาล หนึ่งเพื่อให้การดูแลผู้ป่วย ได้อย่างถูกต้องเหมาะสมและปลอดภัย

การดูแล ควบคุม คุณภาพการส่งต่อผู้ป่วย ร.พ. หัวหน้างาน หัวหน้ากลุ่มงาน ผู้อำนวยการรพ. ใช้งานประจำ, การรายงานผล และการตอบสนอง จังหวัด ผู้รับผิดชอบระบบส่งต่อ, นายแพทย์สสจ. กำกับ, ติดตาม, ควบคุม, รายงาน ระดับจังหวัด เขต ผู้ตรวจราชการเขต กำกับ, ติดตาม, ควบคุม, รายงาน ระดับเขต ประเทศ กระทรวง, สธฉ, สพฉ, สนย, กรมการแพทย์ ฯลฯ กำหนดนโยบาย, ตัวชี้วัด, ติดตามการปฏิบัติตามตัวชี้วัด

ระบบส่งต่อ ปลายทาง ต้นทาง การประสาน งานก่อนการส่งต่อ -โทรศัพท์ FAX Line Facebook เตรียมรับส่งต่อ เตรียมก่อนส่งต่อ ดูแลระหว่างส่งต่อ บริหารจัดการ ส่งมอบผู้ป่วย ประเมินผล การประเมิน 9 ด้าน (คน, ของ) ถูกต้อง เหมาะสม MM, dead case Conference ปลอดภัย

ระบบส่งต่อผู้ป่วยปลอดภัยไร้รอยต่อ ศูนย์ประสาน มีผู้รับผิดชอบ ประสานงานเร็ว ข้อมูลครบถ้วน ระบบบริการการส่งต่อ รถพยาบาล อุปกรณ์พร้อม บุคลากรมีความรู้ ความสามารถ มีการทบทวนการดูแล

ผู้ป่วยทุกรายต้องมีการประสานงาน และเตรียมผู้ป่วยก่อนส่งต่อหรือไม่ ?

โครงสร้างการบริหารจัดการศูนย์ส่งต่อ วิกฤต ทั่วไป แพทย์ พยาบาล ระบบ ซับซ้อน ใช้เวลา ใช้คน ใช้ของ ซับซ้อน ใช้เวลา ใช้คน ใช้ของ จำนวน case น้อย จำนวน case มาก

หน่วยงานท่านมีการบริหารจัดการระบบส่งต่ออย่างไร ? มีสถานที่ของศูนย์ส่งต่อหรือไม่ ? มีอุปกรณ์สื่อสารที่เพียงพอ ? มีเจ้าหน้าที่รับผิดชอบประจำตลอด 24 ชั่วโมง ? มีแพทย์ให้คำปรึกษา ? มีเจ้าหน้าที่ IT ช่วยดูแลและแก้ปัญหาโปรแกรม ? มีผู้บริหารให้การสนับสนุนอย่างเพียงพอ ? มีระบบการทำงานชัดเจน ?

ตัวอย่าง บริบทโรงพยาบาลลำปาง ศูย์ส่งต่อผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉิน( R, E,U ) ศูนย์ส่งต่อผู้ป่วยทั่วไป (U, SU,N) ทำงานร่วมกัน - จัดเจ้าหน้าที่รับผิดชอบ 24 ชม. - มีพยาบาลรับผิดชอบ 2 คน, เลขาฯ 1 คน สลับ เวร เช้าบ่าย - ที่เหลือจัดพยาบาลประสบการณ์ทำงาน > 5 ปี อยู่ตาม assignment - รวบรวม วิเคราะห์ ข้อมูล ประเมินผล นำเสนอผู้บริหาร พัฒนาระบบ - จัดเจ้าหน้าที่รับผิดชอบในเวลาราชการ - มีพยาบาลรับผิดชอบ 2 คน - ประสานรับส่งต่อ 1 คน - ประสานส่งต่อผ่าน e-refer มหาราช 1 คน - รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ รายงานผู้บริหาร

ศูนย์ส่งต่อ มีผู้ป่วยส่งต่อเข้า ประสานแพทย์ ประสาน ER ประสาน ward เวชระเบียน ศูนย์เปล รปภ. รับปรึกษาประสานงานระหว่างส่งต่อ แก้ปัญหารวบรวมข้อมูลการส่งต่อ ศูนย์ส่งต่อ

ศูนย์ส่งต่อ มีผู้ป่วยส่งต่อออก ประสานแพทย์ ประสาน ER ประสาน ward เวชระเบียน ศูนย์เปล รปภ. ส่งข้อมูลผ่าน TR พิมพ์ใบนำส่ง รับปรึกษาประสานงานระหว่างส่งต่อ แก้ปัญหารวบรวมข้อมูลการส่งต่อ ประสานรพ.ปลายทาง ศูนย์ส่งต่อ เตรียม คน ของ ต่อสายให้แพทย์คุยกับแพทย์ ประสาน พขร.เตรียมรถ

ศูนย์ส่งต่อ มีผู้ป่วยส่งกลับ ประสานแพทย์ ประสาน ER ประสาน ward เวชระเบียน ศูนย์เปล รปภ. ส่งข้อมูลผ่าน TR พิมพ์ใบส่งกลับ ประสานรพ.ปลายทาง ศูนย์ส่งต่อ รับและส่งมอบผู้ป่วย เช็คข้อมูลการเดินทางจาก TR ประสาน ward เตรียม ผู้ป่วย

การวิเคราะห์กระบวนการทำงานของศูนย์ส่งต่อผู้ป่วย ศูนย์ประสาน การประสานงานการส่งต่อผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินภายใน 30 นาที อัตราการถูกปฏิเสธการรับส่งต่อ อัตรการส่งต่อออกนอกเขตบริการ ระบบบริการการส่งต่อ อัตราเสียชีวิตของผู้ป่วยในระบบส่งต่อ ร้อยละคุณภาพการดูแลผู้ป่วยในระบบส่งต่อ 9 ด้าน 4 M Analysis การบริหารจัดการเมื่อเกิดภาระงานล้นมือทำอย่างไร ?

คำถามที่พบบ่อย ? คำถามชวนคิด ? ใครเป็นคนบันทึกข้อมูลในระบบ ใครเป็นคนเปิดอ่านข้อมูลในระบบ การรักษาความลับผู้ป่วย ระบบปลอดภัย ? การออกเลขที่ refer ออกอย่างไร ? คำถามชวนคิด ? ถ้าเรานำระบบ IT มาช่วยในการทำงานแล้วมีประโยชน์อย่างไร มีข้อเสีย อย่างไร มีข้อจำกัดอะไร ? เมื่อ IT ล่มมีแผนรองรับสถานการณ์ฉุกเฉินอย่างไร ? เครื่องปริ้นท์ชำรุดทำอย่างไร ?

แบ่งกลุ่มระดมสมองกันนะคะ รพ.เครือข่าย ศูนย์ส่งต่อ อุปกรณ์สื่อสาร ? บุคลากร ความร่วมมือ ทัศนคติต่อสารสนเทศในระบบส่งต่อ สถานที่ศูนย์ส่งต่อ ? อุปกรณ์สื่อสาร ? เจ้าหน้าที่ประจำศูนย์ ? นอกเวลาราชการ ผู้รับผิดชอบ ? มีแพทย์ให้คำปรึกษา ? IT ช่วยแก้ไขปัญหาด้านเทคนิค มีผู้บริหารให้การสนับสนุน ? มีระบบส่งต่อ/แนวทางส่งต่อ ? การรวบรวม/วิเคราะห์/รายงานผล ทัศนคติต่อสารสนเทศในระบบส่งต่อ ER ให้ความสำคัญกับข้อมูลการประสานงาน มาก/น้อยเพียงไร การเตรียมความพร้อมล่วงหน้า การประสานงานราบรื่น การประเมินคุณภาพส่งต่อ ทัศนคติต่อสารสนเทศในระบบส่งต่อ