แนวคิดการพัฒนางานระบาดวิทยาระดับเขต

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
การป้องกันควบคุมโรค ในเขตสุขภาพ
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1
มาตรฐานการป้องกันและควบคุมโรคมาลาเรีย ระดับจังหวัด
ไม่ต้องจัดหา ต้องดูด้านคุณภาพ เป็นการสร้างเสริมปกป้อง สุขภาพของสาธารณะ.
นายแพทย์พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค
สภาพปัจจุบันและปัญหาสาธารณสุขของประเทศและท้องถิ่น
กลุ่มโภชนาการประยุกต์
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
นพ.ศรายุธ อุตตมางคพงศ์ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 อุบลราชธานี
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
มาตรการในการป้องกันควบคุม โรค ในพื้นที่ระบาดและพื้นที่รอยต่อ 1. ตั้งศูนย์ปฏิบัติการฯ ( War room ) เฝ้าระวัง ประเมิน สถานการณ์ ระดมทรัพยากรในการแก้ไขปัญหา.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
น้องเลี้ยง นางสาวปภานิจ สวงโท หน่วยงานสำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
กลุ่ม น้ำบริโภคสะอาด ปลอดภัย เพียงพอ
นพ.ก้องภพ สีละพัฒน์ ผู้นิเทศงานปฐมภูมิ
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ (Diseases & Health Hazard Surveillance )
จังหวัดนครปฐม.
ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
ประเด็นการตรวจราชการ กฎหมายและการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ
คบส Powerpoint by Mr.Prachasan Saenpakdee M.P.H.
แนวคิดในการปรับปรุงรูปแบบและพัฒนามาตรฐานทีม SRRT
ทิศทางการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคติดต่อนำโดยแมลง ปี 2556
MIND MAPงานสุขภาพศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
ระบาดวิทยาและ SRRT.
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
การใช้ระบาดวิทยาเพื่อสนับสนุน SRRT ด้านบริหารจัดการ
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
วัตถุประสงค์ของ หน่วยงาน 1. ถ่ายทอดองค์ความรู้ และ แนวทางการดำเนินการ ป้องกัน ควบคุมโรค งานอนามัย สิ่งแวดล้อม และงาน อา ชีวอนามัย ที่ได้มาตรฐาน 2. ดำเนินการป้องกันควบคุมโรค.
นโยบายและทิศทางการพัฒนาทีม SRRT ปี 2558
เป้าหมาย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
การดำเนินงานระบาดวิทยาปี 2558
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
ด้านการพัฒนาระบบควบคุมโรค
โดย คุณมยุรี ผิว สุวรรณ. สุขภาพ - ภาวะของมนุษย์ที่ สมบูรณ์ทั้งกาย จิต ทางปัญญา และ สังคม เชื่อมโยงกันเป็นองค์ รวมอย่างสมดุล สุขภาพ - ภาวะของมนุษย์ที่
คปสอ.เลิงนกทา เป็นองค์กรบริหารด้านสุขภาพที่มีประสิทธิภาพและโปร่งใส
สถานการณ์โรคติดต่อ อำเภอกำแพงแสน
แผนที่ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ
ยุทธศาสตร์การพัฒนารพ. สต. แบบบูรณาการจังหวัดแพร่ ประจำปีพ. ศ
“ทิศทางการบริหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์ กรมควบคุมโรค
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
Output , Outcome , Impact ของระบบสุขภาพ
สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 2 จังหวัดสระบุรี. แรงบันดาลใจ  การกระจายอำนาจให้แก่องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นเข้ามามี บทบาทในการให้บริการ สาธารณะ  ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวคิดการพัฒนางานระบาดวิทยาระดับเขต เราอยู่ในยุคที่ต้องทำงานแบบไหน ระบาดวิทยามีความสำคัญต่องานสาธารณสุขอย่างไร มีข้อกำหนดที่เกี่ยวกับการทำงานระบาดวิทยาของเขตอย่างไร เราต้องสามารถทำอะไรได้ เราจะพัฒนากันอย่างไร ??? (วันชัย อาจเขียน สำนักระบาดวิทยา)

เราอยู่ในยุคที่ต้องทำงานแบบไหน ปี ค.ศ. (พ.ศ.) Major Public Health Eras Major Epidemiology Eras ก่อน ปี 1850 (ก่อน พ.ศ. 2393) ยุคโรคระบาด ระบาดวิทยาเชิงพรรณนา 1850 – 1949 (พ.ศ. 2393 - 2492) ยุคการพัฒนาสุขภาพอนามัยโดยผ่านกลไกของรัฐ 1950 – 1990 (พ.ศ. 2493 - 2533) ยุคของช่องว่างด้านการรักษาพยาบาล และการเข้าถึงโครงการต่าง ๆ ที่มากมาย* ระบาดวิทยาเชิงวิเคราะห์ 1990 – ปัจจุบัน (พ.ศ.2533 - ปัจจุบัน) Consequential epidemiology** ที่มา Turnock, 1997 Foege, 1990 หมายเหตุ * ของประเทศไทย น่าจะเริ่ม พ.ศ. 2543 ** น่าจะเริ่ม 2543

กรอบทิศทางและเป้าหมายของการสาธารณสุข Vision : Healthy people in healthy communities Mission : การส่งเสริมสุขภาพทั้งทางกาย - จิตใจ และป้องกันโรค - การบาดเจ็บ - ความพิการ Purpose : ความรับผิดชอบต่อประชากรที่จะ 1) ป้องกันการระบาด และการแพร่กระจายของโรค 2) ป้องกันอันตรายจากสิ่งแวดล้อม 3) ป้องกันการบาดเจ็บ 4) ส่งเสริมสนับสนุนพฤติกรรมสุขภาพและสุขภาพจิตที่ดี 5) ตอบสนองต่อภัยพิบัติ และช่วยเหลือในการฟื้นฟูชุมชน 6) ประกันคุณภาพและการเข้าถึงบริการสุขภาพ Role : การทำให้ประชาชนอยู่ในสภาวะที่เหมาะสมต่อสุขภาพอนามัยที่ดี โดยผ่านทางแผนงานโครงการต่าง ๆ ที่ครอบคลุมทั้งชุมชน Core Function : 1) การประเมินสถานะสุขภาพ (Assessment) 2) การพัฒนานโยบาย (Policy development) 3) การประกันคุณภาพบริการ (Assurance) (ที่มา : IOM, CDC)

Assessment Policy Development Systematically collect, analyze, and make available information on the health of the community Includes surveillance, identifying needs, analyzing the causes of problems, collecting and interpreting data, case-finding, monitoring and forecasting trends, research, and evaluation of outcomes This basic function of public health cannot be delegated Policy Development Develop comprehensive public health policies, by promoting use of scientific knowledge in decision-making Examples include: planning and priority–setting policy leadership and advocacy convening, negotiating, and brokering mobilizing resources and constituency building provision of public information, and encouragement of private and public sector actions though incentives and persuasion

โครงสร้างระบบเฝ้าระวังโรค สมรรถนะทีม SRRT(เฝ้าระวัง/ตอบสนอง) ระดับต้น ระดับชุมชน/ระดับต้น SRRT ท้องถิ่น พบผู้ป่วย/รายงาน รักษา/ดูแล นำเสนอข้อมูลเบื้องต้น สอ. สอ. รพ. ตรวจจับ Event สอบสวนโรค/รายงาน ควบคุมโรคขั้นต้น SRRTอำเภอ ศบส.กทม. ระดับกลาง ระดับกลาง วิเคราะห์สถานการณ์ สอบสวนโรค สนับสนุนข้อมูลชันสูตร แจ้งกลับ/รายงานต่อ อำเภอ/จังหวัด - ยืนยันเหตุการณ์ - สนับสนุน - ปฏิบัติการเพิ่มเติม - ประเมินสถานการณ์ และรายงาน SRRTกทม. จังหวัด สคร. ??? ระดับชาติ วิเคราะห์/ประเมินสถานการณ์ สอบสวนโรค สนับสนุนชันสูตร/ความรู้ แผน/นโยบาย/งบประมาณ แจ้งกลับ/รายงานต่อ กระทรวงสาธารณสุข ระดับชาติ SRRT เขต - ประเมินสถานการณ์ และรายงาน WHO - ทีมเชี่ยวชาญปฏิบัติการ - สนับสนุนการชันสูตร/ Logistics/ความรู้ - แผน/นโยบาย/งบประมาณ SRRT ส่วนกลาง ระดับนานาชาติ องค์การอนามัยโลก (ที่มา : WHO standard) (ที่มา : IHR2005)

ภาพที่คาดหวัง : ผู้เชี่ยวชาญทางระบาดวิทยาของเขต โดยเฉพาะโรคและภัยสุขภาพที่เป็นปัญหาสำคัญของพื้นที่ ขีดความสามารถ 1. เฝ้าระวังโรคภัยและเหตุการณ์ทางสุขภาพที่ผิดปกติ ประเมินสถานการณ์ และใช้ประโยชน์จากการเฝ้าระวังโรคในการแก้ไขปัญหาของเขตได้ 2. สร้าง จัดตั้ง บำรุงรักษา และปรับปรุงพัฒนาระบบเฝ้าระวังโรคภัยในพื้นที่ได้ 3. เชี่ยวชาญในการสอบสวน/ตอบสนองโรคภัยที่เป็นปัญหาสำคัญของพื้นที่ได้ 4. สังเคราะห์องค์ความรู้ทางระบาดวิทยา และเป็นวิทยากรถ่ายทอดความรู้ได้ 5. เสนอแนะ/ให้คำปรึกษาในการจัดทำมาตรการรวมถึงออกกฎระเบียบการป้องกันควบคุมโรคแก่หน่วยงาน/องค์กรทุกระดับในพื้นที่ได้ 6. ศึกษาวิจัยทางระบาดวิทยา รวมถึงประเมินผลมาตรการและแผนงานโครงการ 7. ดำเนินการพัฒนางานระบาดวิทยาในเขตรับผิดชอบให้ได้มาตรฐานที่กำหนด Roadmap