แนวคิดการพัฒนางานระบาดวิทยาระดับเขต เราอยู่ในยุคที่ต้องทำงานแบบไหน ระบาดวิทยามีความสำคัญต่องานสาธารณสุขอย่างไร มีข้อกำหนดที่เกี่ยวกับการทำงานระบาดวิทยาของเขตอย่างไร เราต้องสามารถทำอะไรได้ เราจะพัฒนากันอย่างไร ??? (วันชัย อาจเขียน สำนักระบาดวิทยา)
เราอยู่ในยุคที่ต้องทำงานแบบไหน ปี ค.ศ. (พ.ศ.) Major Public Health Eras Major Epidemiology Eras ก่อน ปี 1850 (ก่อน พ.ศ. 2393) ยุคโรคระบาด ระบาดวิทยาเชิงพรรณนา 1850 – 1949 (พ.ศ. 2393 - 2492) ยุคการพัฒนาสุขภาพอนามัยโดยผ่านกลไกของรัฐ 1950 – 1990 (พ.ศ. 2493 - 2533) ยุคของช่องว่างด้านการรักษาพยาบาล และการเข้าถึงโครงการต่าง ๆ ที่มากมาย* ระบาดวิทยาเชิงวิเคราะห์ 1990 – ปัจจุบัน (พ.ศ.2533 - ปัจจุบัน) Consequential epidemiology** ที่มา Turnock, 1997 Foege, 1990 หมายเหตุ * ของประเทศไทย น่าจะเริ่ม พ.ศ. 2543 ** น่าจะเริ่ม 2543
กรอบทิศทางและเป้าหมายของการสาธารณสุข Vision : Healthy people in healthy communities Mission : การส่งเสริมสุขภาพทั้งทางกาย - จิตใจ และป้องกันโรค - การบาดเจ็บ - ความพิการ Purpose : ความรับผิดชอบต่อประชากรที่จะ 1) ป้องกันการระบาด และการแพร่กระจายของโรค 2) ป้องกันอันตรายจากสิ่งแวดล้อม 3) ป้องกันการบาดเจ็บ 4) ส่งเสริมสนับสนุนพฤติกรรมสุขภาพและสุขภาพจิตที่ดี 5) ตอบสนองต่อภัยพิบัติ และช่วยเหลือในการฟื้นฟูชุมชน 6) ประกันคุณภาพและการเข้าถึงบริการสุขภาพ Role : การทำให้ประชาชนอยู่ในสภาวะที่เหมาะสมต่อสุขภาพอนามัยที่ดี โดยผ่านทางแผนงานโครงการต่าง ๆ ที่ครอบคลุมทั้งชุมชน Core Function : 1) การประเมินสถานะสุขภาพ (Assessment) 2) การพัฒนานโยบาย (Policy development) 3) การประกันคุณภาพบริการ (Assurance) (ที่มา : IOM, CDC)
Assessment Policy Development Systematically collect, analyze, and make available information on the health of the community Includes surveillance, identifying needs, analyzing the causes of problems, collecting and interpreting data, case-finding, monitoring and forecasting trends, research, and evaluation of outcomes This basic function of public health cannot be delegated Policy Development Develop comprehensive public health policies, by promoting use of scientific knowledge in decision-making Examples include: planning and priority–setting policy leadership and advocacy convening, negotiating, and brokering mobilizing resources and constituency building provision of public information, and encouragement of private and public sector actions though incentives and persuasion
โครงสร้างระบบเฝ้าระวังโรค สมรรถนะทีม SRRT(เฝ้าระวัง/ตอบสนอง) ระดับต้น ระดับชุมชน/ระดับต้น SRRT ท้องถิ่น พบผู้ป่วย/รายงาน รักษา/ดูแล นำเสนอข้อมูลเบื้องต้น สอ. สอ. รพ. ตรวจจับ Event สอบสวนโรค/รายงาน ควบคุมโรคขั้นต้น SRRTอำเภอ ศบส.กทม. ระดับกลาง ระดับกลาง วิเคราะห์สถานการณ์ สอบสวนโรค สนับสนุนข้อมูลชันสูตร แจ้งกลับ/รายงานต่อ อำเภอ/จังหวัด - ยืนยันเหตุการณ์ - สนับสนุน - ปฏิบัติการเพิ่มเติม - ประเมินสถานการณ์ และรายงาน SRRTกทม. จังหวัด สคร. ??? ระดับชาติ วิเคราะห์/ประเมินสถานการณ์ สอบสวนโรค สนับสนุนชันสูตร/ความรู้ แผน/นโยบาย/งบประมาณ แจ้งกลับ/รายงานต่อ กระทรวงสาธารณสุข ระดับชาติ SRRT เขต - ประเมินสถานการณ์ และรายงาน WHO - ทีมเชี่ยวชาญปฏิบัติการ - สนับสนุนการชันสูตร/ Logistics/ความรู้ - แผน/นโยบาย/งบประมาณ SRRT ส่วนกลาง ระดับนานาชาติ องค์การอนามัยโลก (ที่มา : WHO standard) (ที่มา : IHR2005)
ภาพที่คาดหวัง : ผู้เชี่ยวชาญทางระบาดวิทยาของเขต โดยเฉพาะโรคและภัยสุขภาพที่เป็นปัญหาสำคัญของพื้นที่ ขีดความสามารถ 1. เฝ้าระวังโรคภัยและเหตุการณ์ทางสุขภาพที่ผิดปกติ ประเมินสถานการณ์ และใช้ประโยชน์จากการเฝ้าระวังโรคในการแก้ไขปัญหาของเขตได้ 2. สร้าง จัดตั้ง บำรุงรักษา และปรับปรุงพัฒนาระบบเฝ้าระวังโรคภัยในพื้นที่ได้ 3. เชี่ยวชาญในการสอบสวน/ตอบสนองโรคภัยที่เป็นปัญหาสำคัญของพื้นที่ได้ 4. สังเคราะห์องค์ความรู้ทางระบาดวิทยา และเป็นวิทยากรถ่ายทอดความรู้ได้ 5. เสนอแนะ/ให้คำปรึกษาในการจัดทำมาตรการรวมถึงออกกฎระเบียบการป้องกันควบคุมโรคแก่หน่วยงาน/องค์กรทุกระดับในพื้นที่ได้ 6. ศึกษาวิจัยทางระบาดวิทยา รวมถึงประเมินผลมาตรการและแผนงานโครงการ 7. ดำเนินการพัฒนางานระบาดวิทยาในเขตรับผิดชอบให้ได้มาตรฐานที่กำหนด Roadmap