แผนพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Service Plan สาขา NCD.
Advertisements

เป้าหมาย ตัวชี้วัด และยุทธศาสตร์การดำเนินงาน กระทรวงสาธารณสุข 2557
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
แนวทางการการดำเนินงานปี 2551
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
Road Map เขตบริการสุขภาพที่ ๑๒
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
การบริหารงบ PP ปี 52 งบ PP เขต จว./อำเภอ Non-UC สธ. Non-UC สปสช.
การจัดกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในชุมชน
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
นโยบาย และแนวทางการแก้ไขปัญหาโรคเบาหวาน ระดับประเทศและภูมิภาค
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
แนวทางการดำเนินงาน และ แผนการดำเนินงาน
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
นโยบายด้านบริหาร.
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
โครงการหมู่บ้าน / ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค
อย.น้อย : เริ่มต้น และความคาดหวัง รวบรวมโดย...กฤษณา แป้นงาม
โดย นายแพทย์เกียรติภูมิ วงศ์รจิต รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต
การประเมินคลินิกNCD คุณภาพ
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ปี 2557
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
การดำเนินงานโครงการสำคัญ และตัวชี้วัดความสำเร็จการดำเนินงาน กลุ่มที่ 2 (6.วัยรุ่น 7.วัยทำงาน 8.ป้องกันควบคุมปัจจัยเสี่ยง)
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
นำเสนอแผนปฏิบัติการสาธารณสุข
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แผนการดำเนินงาน ของศูนย์กฎหมาย ปีงบประมาณ พ.ศ กรมควบคุมโรค
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
บูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพ ด้านพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
แนวทางการดำเนินงานสุขภาพจิต กลุ่มวัยทำงาน
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
สกลนครโมเดล.
พัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
กรอบการดำเนินงาน แผนงานควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
แนวทางการดำเนินงาน วัยเรียน กรมสุขภาพจิต
บ้านเลขที่ 11/7 Family Model สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ
สถานการณ์การดำเนินงานปี 2557 และ ทิศทางการดำเนินงานปี 2558
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
การป้องกัน การเสริมสร้างบทบาทองค์ ความรู้แก่ผู้นำทาง ความคิดของเด็กและ เยาวชน การพัฒนาความร่วมมือ ของ ภาคีเครือข่าย การขจัดสิ่งยั่วยุและ อิทธิพลจากสื่อ.
กรอบประเด็น คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
ขับเคลื่อนงานด้านโรคไม่ติดต่อ และการบาดเจ็บ
คู่มือสนับสนุนการดำเนินงานพัฒนาสุขภาพ กลุ่มวัยทำงานด้านโรคไม่ติดต่อ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แผนพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน นางศรีเพ็ญ สวัสดิมงคล หัวหน้ากลุ่มยุทธศาสตร์และแผนงาน สำนักโรคไม่ติดต่อ เสนอต่ออธิบดีกรมควบคุมโรค 25 ธันวาคม 2557 เวลา 09.00 น. ณ ห้องประชุมประเมินจันทวิมล กรม คร.

(ลดพฤติกรรมเสี่ยง ลดป่วย ลดภาวะแทรกซ้อน ลดตาย) เป้าหมายบริการ : ลดปัญหาจากโรค NCD โรคจากการประกอบอาชีพ อุบัติเหตุทางถนน (ลดพฤติกรรมเสี่ยง ลดป่วย ลดภาวะแทรกซ้อน ลดตาย) KPI 2559 : อัตราป่วยรายใหม่จากโรคหลอดเลือดหัวใจ ลดลง ลดตายก่อนวัยอันควรจากโรค NCDs 25% ลดการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 10 % ลดการขาดกิจกรรม ทางกาย 10 % ลดการบริโภคยาสูบ 30 % ลดการบริโภคเกลือ/โซเดียม 30% ลดภาวะความดันโลหิตสูง 25 % ภาวะเบาหวานและอ้วนไม่ให้เพิ่ม ยาและเทคโนโลยีที่จำเป็นครอบคลุม 80% ผู้ที่เสี่ยงสูงต่อ CVD ได้รับยาและคำปรึกษา 50% สร้างเสริมสุขภาพ และวิถีชีวิตในประชากร ป้องกันการเกิดโรค ในกลุ่มเสี่ยงสูง ป้องกันและชะลอการดำเนินโรค สู่ภาวะแทรกซ้อนและการเป็นซ้ำ ลดพฤติกรรม/ปัจจัยเสี่ยงในประชากร ตำบลจัดการสุขภาพ สถานที่ทำงาน/สปก.ปลอดโรค ปลอดภัยฯ การบังคับใช้กฎหมาย (สุรา บุหรี่) พัฒนาการจัดการโรคและลดเสี่ยงรายบุคคล คลินิก NCD คุณภาพ การประเมินและจัดการโอกาสเสี่ยงต่อ CVD DHS + system manager ระดับจังหวัด/อำเภอ กรม คร. กรม อ. กรม พ./กรม อ. กรม พ.

สถานที่ทำงาน/สปก. ปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข * กรอบแนวคิด Healthy Workplace ของ WHO 2008 เพื่อสนับสนุน/ส่งเสริมเกี่ยวกับ สภาพแวดล้อมการทำงานทางกายภาพ สภาพแวดล้อมการทำงานด้านจิตสังคมรวมถึงวัฒนธรรมองค์กร แหล่งข้อมูลสุขภาพส่วนบุคคล/บริการด้านสุขภาพ การมีส่วนร่วมระหว่างองค์กรและชุมชน 2) ปลอดโรค (โรคไม่ติดต่อและโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม เช่น Dm,HT stroke, CVD,ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุจราจร) 4) กายใจเป็นสุข (ขวัญและกำลังใจในการท่ำงาน,กิจกรรมนันทนาการ,คุณค่าของพนักงาน) 3) ปลอดภัย (สารเคมี, ระบบไฟฟ้า, เครื่องจักร,ระบบป้องกันและระงับอัคคีภัย,สภาพแวดล้อมในการทำงาน ฯลฯ) 1) การสนับสนุนขององค์กรและการมีส่วนร่วมของผู้ปฏิบัติงาน (นโยบายองค์กร/การติดต่อสื่อสาร/การตรวจติดตาม ทบทวน และประเมินผล/การมีส่วนร่วมของผู้ปฏิบัติงาน)

กรมควบคุมโรค บูรณาการกิจกรรมงาน NCD รวมวงเงินทั้งหมด 57. 93 ลบ มาตรการ/ประเด็น งบประมาณ (ล้านบาท) หน่วย งาน ส่วนกลาง จังหวัด สำนัก สคร. มาตรการ 1.สร้างเสริมสุขภาพและวิถีชีวิตใน ปชก. 10.25 6.9 15.58 1.1 สถานที่ทำงาน (Healthy Work place) องค์กรลดเสี่ยง ลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (1.35) เวทีนำเสนอผลการดำเนินงานปี 2557 พัฒนานโยบายให้เกิดการดำเนินการในสถานที่ทำงาน พัฒนาและผลิตแนวทางดำเนินงานฯ (200 เล่ม) สนับสนุนงบประมาณแก่ สคร เพื่อให้ดำเนินงานในสถานที่ทำงานในเขตของ สคร 12 แห่งๆละ 50,000 บาท 0.50 0.05 0.20 0.60 ส.NCD 1.2 สนับสนุนเครื่องมือเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในสถานบริการและชุมชน (0.51) ทบทวนการดำเนินงานปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในระดับบุคคลและชุมชน ปรับปรุงเครื่องมือ ผลิตและเครื่องมือเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในสถานบริการและชุมชน 0.01

กรมควบคุมโรค บูรณาการกิจกรรมงาน NCD งบประมาณ วงเงินทั้งหมด ลบ มาตรการ/ประเด็น งบประมาณ (ล้านบาท) หน่วย งาน ส่วนกลาง จังหวัด สำนัก สคร. มาตรการ 1.สร้างเสริมสุขภาพและวิถีชีวิตใน ปชก. 1.3 สถานประกอบการ ปลอดโรค ปลอดภัยฯ (23.226) พัฒนาเกณฑ์/คู่มือ/แนวทางการดำเนินงาน พัฒนาต้นแบบ Facilitator และนำไปใช้ อบรมผู้ตรวจประเมิน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ถอดบทเรียน M&E ชี้แจง/ร่วมเป็นคณะตรวจประเมิน จัดอบรม/สนับสนุน/ประชาสัมพันธ์/ติดตามเก็บข้อมูล 0.39 0.43 0.48 1.00 0.45 1.29 3.60 (0.30/เขต) 15.58 (0.20/จ.) Env-occ 1.4 บังคับใช้กฎหมายสุรา-ยาสูบ (7.663) เฝ้าระวัง ตรวจเตือน ปชส. ชี้แจง กฎหมายควบคุมalc ให้แก่พนักงานเจ้าหน้าที่ พัฒนาความร่วมมือภายในกสธ. 1.43 1.52 2.00 1.50 (0.125/เขต) 1.20 (0.1/เขต) - ส.ALC

มาตรการ/ประเด็น งบประมาณ (ล้านบาท) หน่วย งาน ส่วนกลาง จังหวัด สำนัก สคร. มาตรการ 2.พัฒนาการจัดการโรคและลดเสี่ยงรายบุคคล 6.50 18.70 2.1 คลินิก NCD คุณภาพ (15.00 ) เพิ่มศักยภาพภาคีเครือข่ายในการดำเนินงานคลินิก NCD คุณภาพ :สนับสนุนงบให้ สคร. ชี้แจง/ถ่ายทอดนโยบาย ปี 2559 ระดับพื้นที่ : สนับสนุนงบให้ สคร. ใช้ในการบริหารจัดการเพื่อออกประเมินรับรองคลินิก NCD คุณภาพ ปี 2558 สนับสนุนงบให้ สคร. จัดเวทีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การเพิ่มคุณภาพการดำเนินงาน คลินิก NCD คุณภาพ (KM) สนับสนุนงบให้ สคร. เพิ่มศักยภาพในการพัฒนาทีมจัดการระบบการจัดการโรคเรื้อรังระดับอำเภอ (หลักสูตร NCD System manager CUP) นิเทศ/ติดตาม การดำเนินงาน คลินิก NCD คุณภาพ หลังสถานบริการดำเนินการครบ 100 สรุปผลการดำเนินงาน และวางแผนเตรียมการดำเนินงานขยายสู่ รพ.สต. 0.48 0.32 3.80 3.00 3.60 ส.NCD

มาตรการ/ประเด็น งบประมาณ (ล้านบาท) หน่วย งาน ส่วนกลาง จังหวัด สำนัก สคร. มาตรการ 2.พัฒนาการจัดการโรคและลดเสี่ยงรายบุคคล 2.2 ขยายผลการดำเนินงานการลดโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดCVDในพื้นที่ภาคกลาง (3.00) ชี้แจงโครงการนำร่องฯ สนับสนุนงบประมาณเพื่อดำเนินกิจกรรมลดเสี่ยงฯ ติดตามความก้าวหน้า ผลการดำเนินงาน จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้กระบวนการขับเคลื่อนและรูปแบบการลดโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด 0.30 0.10 0.80 1.8 ส.NCD 2.3 นำร่องลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยเบาหวานร่วมกับความดันโลหิตสูงในพื้นที่ภาคอีสาน (0.70) จัดทำแนวทางการลดภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยเบาหวานร่วมกับความดันโลหิตสูงโดยให้สอดคล้องกับ service plan สนับสนุนงบประมาณเพื่อดำเนินกิจกรรมในเครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอที่ร่วมโครงการ ติดตาม เรียนรู้ ถอดบทเรียนพื้นที่ที่ดำเนินงาน สรุป ประเมินผลการดำเนินงาน 0.25 0.20 0.05

มาตรการ/ประเด็น งบประมาณ (ล้านบาท) หน่วย งาน ส่วนกลาง จังหวัด สำนัก สคร. มาตรการ 2.พัฒนาการจัดการโรคและลดเสี่ยงรายบุคคล 2.4 ค้นหากระบวนการจัดการความรู้โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (3.00) ชี้แจงโครงการมหกรรมการจัดการความรู้โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง สนับสนุนงบประมาณให้หน่วยงาน เพื่อดำเนินงานโครงการจำนวน 4 ภาค ภาคละ 500,000 บาท ติดตามความก้าวหน้า ผลการดำเนินงาน 4 ครั้ง จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้และตลาดนัดสุขภาพ 0.08 0.10 0.82 2.00 ส.NCD

มาตรการ/ประเด็น งบประมาณ (ล้านบาท) หน่วย งาน ส่วนกลาง จังหวัด สำนัก สคร. มาตรการ 2.พัฒนาการจัดการโรคและลดเสี่ยงรายบุคคล 2.5 คัดกรองการบริโภคยาสูบ และลด เลิกยาสูบ ในระบบสุขภาพ (1.50) - สร้างกลไกขับเคลื่อนการคัดกรองฯในผู้ป่วยNCD และระบบส่งต่อ M&E สนับสนุน /M&E การดำเนินงาน 0.60 0.40 0.50 (ทุกเขต) - ส.ยาสูบ ติดตาม และประเมินผล 2.00 รวม 16.75 25.60 15.58

KPI 2559 : อัตราตายจากอุบัติเหตุทางถนน ไม่เกิน 16 ต่อประชากรแสนคน

กรมควบคุมโรค บูรณาการกิจกรรม งานอุบัติเหตุทางถนนและบาดเจ็บอื่น ๆ วงเงินทั้งหมด 5.44 ลบ. (ขาขึ้น 2559) (สำนัก 5.44 ลบ./สคร. - ลบ.) มาตรการ/ประเด็น งบประมาณ (ล้านบาท) หน่วย งาน ส่วนกลาง จังหวัด สำนัก สคร. มาตรการ 1.สร้างเสริมสุขภาพและวิถีชีวิตใน ปชก. อุบัติเหตุทางถนน (4.44) พัฒนาฐานข้อมูลประเทศและบริหารจัดการข้อมูลลงสู่พื้นที่ จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงานป้องกันการบาดเจ็บและลดการตายจากอุบัติเหตุทางถนน พัฒนาศักยภาพบุคลากรสาธารณสุขฯ (Mr.RTI) รุ่นที่ 2 บริหารจัดการงานป้องกันและลดการตายจากอุบัติเหตุทางถนนในทศวรรษแห่งความปลอดภัยทางถนน 1.90 1.00 0.78 0.76 ส.NCD บาดเจ็บอื่นๆ ขยายพื้นที่ดำเนินการป้องกันการบาดเจ็บโดยสถานบริการสาธารณสุข (1.0) พัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันการบาดเจ็บโดยสถานบริการสาธารณสุข ลงพื้นที่สนับสนุน/ติดตามตรวจเยี่ยมเสริมพลังการดำเนินงานในพื้นที่เสี่ยงสูง ผลิตสื่อต้นแบบในการดำเนินงานป้องกันการบาดเจ็บ 0.52 0.28 0.20 รวม 5.44 -

แผนการดูแลสุขภาพกลุ่มวัยเรียน(จมน้ำ) สถานการณ์และผลการดำเนินงาน ในปี ๒๕๕๖ กรมควบคุมโรคมีรายงานอัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำ ในเด็กอายุต่ำกว่า ๑๕ ปี เท่ากับ ๗.๖ ต่อแสนประชากร

KPI : 1. เด็กนักเรียนมีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนไม่เกินร้อยละ ๑๐ เป้าหมายบริการ : ประชาชนกลุ่มวัยเรียนมีพฤติกรรมสุขภาพและอยู่ในสภาพแวดล้อม ที่เหมาะสม มีทักษะชีวิต สามารถจัดการภาวะสุขภาพของตนเองได้ตามช่วงวัยตลอดจนได้รับการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ KPI : 1. เด็กนักเรียนมีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนไม่เกินร้อยละ ๑๐ 2. อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุต่ำกว่า ๑๕ ปี ไม่เกิน ๖.๕ ต่อประชากรเด็ก อายุต่ำกว่า ๑๕ ปี แสนคน กรมควบคุมโรค กรมอนามัย กรมสุขภาพจิต ผลผลิต : การเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กลดลง ผลผลิต : เด็กมีรูปร่างสมส่วน ผลผลิต : เด็กไทยมี IQ EQ ไม่ต่ำกว่ามาตรฐานสากล ยุทธศาสตร์ : การทำงานเชิงบูรณาการและแสวงหาภาคีเครือข่ายภายใต้ชื่อ “ผู้ก่อการดีป้องกันการจมน้ำ” ยุทธศาสตร์ การพัฒนาศักยภาพทุกระดับ •การสนับสนุนให้เกิดการตระหนัก รับรู้ ปฏิบัติได้ด้านพฤติกรรมสุขภาพ มาตรการ : เฝ้าระวัง กำกับ ติดตามประเมินผล การดำเนินงานป้องกันการจมน้ำ (ภายใต้องค์ประกอบ/มาตรการหลัก ๑๐ ด้าน) ของผู้ก่อการดี ดำเนินการในโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพแบบบูรณาการ เฝ้าระวัง ส่งเสริม และพัฒนา IQ/EQ

ผู้ก่อการดี (Merit Maker) “ป้องกันการจมน้ำ” M Media A Advocacy/ Policy* K Kindergarten E Education R Research* M Management* E Environment R Resuscitation* I Information T Training (Survival Swimming) * ต้องมีในระดับเงินและทอง ระดับเงินและทอง = 10 องค์ประกอบ, ระดับทองแดง = 6 องค์ประกอบ www.facebook.com/thaincd www.thaincd.com