การเขียนบทโทรทัศน์ สุรพล บุญลือ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สตอรี่บอร์ด (Story board)
Advertisements

ICT & LEARN.
หลักการบันทึกข้อความ
บทที่ 2 การพูดในที่ชุมนุมชน
นำเสนออย่างไร ให้โดนใจอาจารย์
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
เรื่อง เขาเป็นใครหนอ ? เขามาจากไหน ?
รหัสวิชา ระเบียบวิธีการวิจัย (Research Methodology)
เปิดโลกนอกกะลา.
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
หลักการออกแบบของ ADDIE model ADDIE model
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
แผนการเรียนรู้ เรื่อง การจัดองค์ประกอบของการถ่ายภาพ
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
วิธีการทางสุขศึกษา.
เขียนงานวิจัยอย่างไร ให้เป็นผล หัวใจการ “เขียนเรื่องงานวิจัย” ให้ “สำเร็จ” กมล สุกิน.
Poster Presentation โดย สำหรับ การประชุม สคร.5 รศ.นพ.สมพนธ์ ทัศนิยม
บทที่ 1 บทนำว่าด้วยการสื่อสารการตลาด
Knowledge Management (KM)
องค์ประกอบของการสัมมนา
บทที่ 2 โครงการอบรม/สัมมนา.
Proposal / Profile : ทำเพื่อเสนอต่อสถานีโทรทัศน์ ขอช่องทางออกอากาศ
ทีมงานผลิตรายการโทรทัศน์ The Television Team
แนวคิดและรูปแบบการจัดการพิพิธภัณฑ์ เพื่อตอบสนองต่อความต้องการของสังคม
บทนำ วิชานาฏยหัตถกรรม Stage Crafts (อ.เมษา อุทัยรัตน์)
หน่วยที่ 1 ภาษากับการสื่อสาร.
วัตถุประสงค์ของการศึกษาด้วยกรณีศึกษา
- แผนงานที่ไม่มีโครงการจะเป็นแผนงานที่ไม่มีความสมบูรณ์ ไม่สามารถนำไปปฏิบัติเป็นรูปธรรม
สื่อการเรียนการสอน.
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
การนำเสนอแฟ้มผลงานรับฟังความคิดเห็น (ประชาพิจารณ์)
ก้าวไกลสู่มาตรฐานวิชาชีพ
การสอนแบบบรรยาย-อภิปราย
SYSTEM ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบ
นางสาวธันยกานต์ สินปรุ
หน่วยที่ 3 สื่อการเรียนรู้สำหรับคอมพิวเตอร์พกพา (Tablet) กิจกรรมที่2 การผลิต การใช้ การประเมินผล สื่อ ICT.
และการประเมินแบบมีส่วนร่วม
แนวทางดำเนินงานจัดการความรู้ในงานส่งเสริมการเกษตร ให้ประสบผลสำเร็จ
Paradigm Workshop by Dr. Prapon Phasukyud
กระบวนการวิจัย Process of Research
ลักษณะข้อสอบการอ่าน PISA 2009.
ประเภทและรูปแบบ ของวีดิทัศน์เพื่อการศึกษา
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
ปัจจัยสำคัญของภาพยนตร์
การวางเค้าโครงการวิจัยในชั้นเรียน
การออกแบบการสอน รูปแบบ ADDIE Model
วิธีการคิดวิเคราะห์.
การสร้างสรรค์บทละคร.
องค์ประกอบของบทละคร.
ขั้นตอนในการผลิตรายการวีดิทัศน์
เทคนิคการถ่ายทอด พ.อ.ฐิตินันท์ อุตมัง.
องค์ประกอบในการสร้างสรรค์รายการวิทยุโทรทัศน์
การเขียนบทวิทยุกระจายเสียง. ขั้นตอนการเขียนบทรายการวิทยุ ขั้นเริ่มต้นแนวคิด (Begin with idea) จะเป็น การบอกแนวทาง ขอบเขตและการวาง แผนการผลิตในอนาคต.
สปอตวิทยุ.
หน่วยที่ ๓ การนำเสนอข้อมูล
ผลที่ได้จากการสอบสวน 1. เกิดเหตุการณ์อะไรขึ้น 2. ทำไมถึงเกิดเหตุการณ์นั้น 3. ใครจะเป็นผู้ที่เหมาะสมที่สุดในการแก้ไขป้องกันอุบัติเหตุในครั้งนี้
Workshop วิชาการถ่ายทอดความรู้วิทยากร ตาม worksheet 1-5.
การเขียนข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์
การเขียนรายงานผลการวิจัย
การเขียนโครงการ.
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE Model
บทวิทยุโทรทัศน์เป็นการเขียนเพื่อชมและ ฟัง ผู้เขียนบทรายการข่าวทั่วไปต้องยึด แนวทางที่ทำให้ผู้รับสารเกิดความเข้าใจ ได้ง่ายและไม่สับสนและใช้โครงสร้างการ.
บทที่ 2 ทฤษฎีการสื่อสาร
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
พระบิดาแห่งประวัติศาสตร์ไทย “ สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงรา ชานุภาพ ” ทรงเป็น พระราชโอรสองค์ที่ ๕๓ ในพระบาทสมเด็จ พระจอมเกล้า เจ้าอยู่หัวรัชกาล ที่ ๔ และเจ้าจอม.
ผลที่ได้จากการสอบสวน 1. เกิดเหตุการณ์อะไรขึ้น 2. ทำไมถึงเกิดเหตุการณ์นั้น 3. ใครจะเป็นผู้ที่เหมาะสมที่สุดในการแก้ไขป้องกันอุบัติเหตุในครั้งนี้
การเขียนชื่อ “เรื่อง”
การเขียนหนังสือราชการและการโต้ตอบ นักจัดการงานทั่วไปชำนาญการ
การพัฒนาการส่งเสริมการใช้ทรัพยากรสารสนเทศ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเขียนบทโทรทัศน์ สุรพล บุญลือ

การเขียนบทโทรทัศน์ สุรพล บุญลือ

1.วิเคราะห์องค์ประกอบและกระบวนการสื่อสาร ผู้รับสาร (Receiver) ผู้ส่งสาร (Sender) สาร (Massage) สื่อ (Media)

กรอบในการวิเคราะห์กระบวนการสื่อสาร 5 W’s 1 H 1.Who : ใคร 2.What : ทำอะไร 3.Where : ที่ไหน 4.When : เมื่อไหร่ 5.Why : ทำไม 1.How : อย่างไร

2.กำหนดวัตถุประสงค์ 1.Knowledge : ให้เกิดความรู้ 2.Attiude : ให้เกิดทัศนคติ 3.Practice : ให้นำไปปฏิบัติ

2.กำหนดวัตถุประสงค์ AIDA Model 1.ให้รับรู้ : Attention 2.ให้สนใจ : Interest 3.ให้เกิดความอยาก : Desire 4.ให้ปฏิบัติ : Action

3.กำหนดเรื่อง/กำหนดตัวสาร เนื้อหาของเรื่องจะเป็นอย่างไร มีการนำเสนอในประเด็นไหนที่น่าสนใจ

4.กำหนดผู้รับสารเป้าหมาย Target Receivers 4.1 ผู้รับสารหลัก กลุ่มเป้าหมายหลัก 4.2 ผู้รับสารรอง กลุ่มเป้าหมายรอง อาศัยกลุ่มเป้าหมายหลัก

5.กำหนดสื่อ Media เป็นสื่อประเภท อะไร การจัดเก็บ บันทึก หรือนำเสนออย่างไร ผ่านช่องทางไหน

6.กำหนดรูปแบบของสารที่เหมาะสม มี 13 รูปแบบได้แก่ 1.รายการพูดหรือบรรยายคนเดียว Head Talk 2.รายการสนทนา ระหว่างคน 2คนขึ้นไป 3.รายการอภิปราย ตั้งประเด็นแล้วให้ผู้ชมทางบ้านเข้ามามีส่วนร่วม 4.รายการสัมภาษณ์ เชิญวิทยากรมาร่วมรายการ

6.กำหนดรูปแบบของสารที่เหมาะสม 5.รายการเกม หรือตอบปัญหา 6.รายการสารคดี 7.รายการละคร 8.รายการสาระ ละคร 9.รายการสาธิต 10.รายการเพลง

6.กำหนดรูปแบบของสารที่เหมาะสม 11.รายการนิตยสารทางอากาศ 12.รายการสด หรือถ่ายทอดสด 13.รายการประเภทอื่น

7.กำหนดผู้รับผิดชอบในการผลิต 1.ผู้อำนวยการผลิต (Executives Producer) 2.ผู้ผลิต (Producer) 3.ผู้เขียนบท (Script Writer & Screen Play) 4.ผู้กำกับรายการ (Director) 5.ผู้ถ่ายภาพ (Camera Man) 6.ผู้จัดการกองถ่าย (Co Director) 7.ฝ่ายอื่นๆ

8.การเขียนบท 1.หาเรื่องมาเป็นบท (Generate Ideas = Story Ideas) 2.ลำดับเรื่อง (Scene Outline = Content Outline) 3.เขียนบทถ่ายทำ (Script) 4.แผ่นภาพเรื่องราวประกอบ (Story Board) 5.รายละเอียดกองถ่าย (Shooting Script)

องค์ประกอบที่สำคัญของบทโทรทัศน์ 1.นำเข้าสู่เรื่อง เปิดเรื่อง(Introduction) 2.การดำเนินเรื่อง (Development) 3.แก่นของเรื่อง (Climax) 4.บทสรุป (Conclusion)