แนวทางปฏิบัติการช่วยชีวิต

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม Click anywhere to begin.
Advertisements

Neonatal Resuscitation
Rescue a child with choking
Adult Basic Life Support
“การจัดการความรู้ : Share and Learn ประจำปี 2555”
สมมุติว่าขณะนี้เป็นเวลาประมาณหกโมงเย็นและคุณกำลังขับรถกลับบ้านคนเดียวหลังจากเสร็จสิ้นวันทำงานอันแสนเหน็ดเหนื่อย คุณรู้สึกเหนื่อยล้าและคับข้องใจเป็นอย่างมาก…
การเลิกสูบบุหรี่ด้วยตัวเอง
โดย นางสาวจิรวดี แก้วเจริญ
การช่วยฟื้นคืนชีพเบื้องต้นในเด็ก (Basic CPR)
เรื่อง การปฐมพยาบาลเพื่อช่วยเหลือผู้อื่น
ประเมินสภาพของผู้บาดเจ็บ
ผลการคัดกรองโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
PNEUMONIA UNDER FIVE YEAR IN BUDDHACHINARAJ HOSPITAL
แนวทางการใช้ยาปฎิชีวนะ
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
แผนการสอนเรื่องปอดอักเสบ
งานสุขศึกษา หอผู้ป่วยกุมาร 3
การผ่าตัดก้อนถุงน้ำที่มือ
ที่ กค /ว 46 วันที่ 8 มิถุนายน 2555
การบริหารกล้ามเนื้อต้นคอ
เป้าหมายการบริการ กรมอนามัย ปี 2548
ขั้นตอนการจัดการสาธารณภัย
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
การช่วยกู้ชีพทารกแรกเกิด
การบริหารยาทางฝอยละออง
( Cardiopulmonary Resuscitation : CPR )
การเป็นลมและช็อก.
การชักและหอบ.
เจ็บแน่นหน้าอก.
โภชนาการโรคถุงลมโป่งพองเรื้อรัง
คำแนะนำเรื่อง โรค มือ เท้า ปาก สำหรับผู้ปกครอง.
Diabetic Foot แผลเบาหวาน กับ การดูแล ป้องกัน
ระบบรับ-ส่งต่อผู้ป่วย
การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อไข้หวัดนก / ไข้หวัดใหญ่ในสถานพยาบาล
การช่วยเหลือผู้จมน้ำ
โรคติดเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่
ศูนย์อนามัยที่ 2 สระบุรี
กรณีกดจุดระงับหอบหืด ให้ผู้อื่นกดให้
กำมือ เคาะเบาๆ ที่สันหลัง จากบนลงล่าง 6 เที่ยว
นอนคว่ำ ให้ผู้อื่นกดจุด นิ้วหัวแม่มือซ้ายขวา กดเบาๆ ไล่ตามแนวสันหลัง
นิ้วกลางไขว้ทับนิ้วชี้ กดมุมกระดูกขากรรไกรล่างซ้ายขวา เบาๆ
CQI งานผู้ป่วยในหญิง เรื่อง
การเตรียมผู้ป่วยสูงอายุก่อนและการดูแลระหว่างการรักษาด้วยไฟฟ้า
ให้ผู้ป่วยเคี้ยวอาหารให้ละเอียดพร้อมกลืน
สาขาวิชาวิศวกรรมการจัดการความปลอดภัย
Tonsillits Pharynngitis
ระบบน้ำเหลืองและเต้านม
คนไทยไร้พุง งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
รองศาสตราจารย์ ดร.สุดารัตน์ สิทธิสมบัติ
พัฒนาการเด็กแต่ละช่วงวัย
ไดร์เป่าผม เป่าขอบก้นสองข้างให้ทั่ว 1 นาที
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2555 เดือนมกราคม
นางสาวนิตย์ติญา ดวงใจ พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ
การช่วยเหลือผู้ป่วยเบื้องต้น
เกณฑ์การส่งต่อผู้ป่วย COPD ดูแลต่อเนื่องที่บ้าน
การล้างมือ (hand washing)
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ประจำปีงบประมาณ 2554.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
คลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2557 เดือน สิงหาคม 2557 รวมทั้งสิ้น 79 ตัวชี้วัด.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2555 เดือนพฤศจิกายน.
สำลักสิ่งแปลกปลอมแล้วติดคอหรือหายใจไม่ออก ทำอย่างไร?
การช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน Basic Life Support
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางปฏิบัติการช่วยชีวิต American Heart Association (AHA) Guidelines for Cardiopulmonary Resuscitation (CPR) and Emergency Cardiovascular Care (ECC) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2553 พญ.พชรวรรณ ลีลาภิรมย์ชัย กุมารแพทย์ รพ.ส่งเสริมสุขภาพ ศูนย์อนามัยที่ 3 ชลบุรี 12 ก.ย. 2557

CPR (Cardiopulmonary Resuscitation) “Call fast” not “Call first” “CAB” not “ABC”

ประเมินการตอบสนอง

ผู้ป่วยไม่ตอบสนอง  ตรวจชีพจร (ภายใน 10 วินาที) ผู้ป่วยไม่ตอบสนอง  ตรวจชีพจร (ภายใน 10 วินาที) อายุ <1 ปี อายุ > 1 ปี

**พบมีชีพจร  เปิดทางเดินหายใจ กดหน้าผาก - เฉยคาง ยกกราม (Head tilt-chin lift) (Jaw thrust)

ช่วยหายใจ อายุ < 1 ปี อายุ > 1 ปี อายุ < 1 ปี อายุ > 1 ปี เป่าปาก 1 ครั้ง ทุก 3 วินาที (ประมาณ 20 ครั้ง/นาที) ตรวจชีพจรทุก 2 นาที กดหน้าอกทันที เมื่อ หัวใจเต้นช้า หรือ สีผิวเขียวคล้ำ

**ไม่พบชีพจร/หายใจเฮือก  กดหน้าอก อายุ < 1 ปี ตำแหน่ง - ต่ำกว่าระดับราวหัวนมเล็กน้อย การวางนิ้ว ปลายนิ้วชี้ + นิ้วกลาง นิ้วโป้งสองนิ้วกด นิ้วที่เหลือโอบรอบตัว

การกดหน้าอก ตำแหน่ง : ครึ่งล่างของกระดูกหน้าอก การวางมือ : ประสานสองมือซ้อนกัน กดโดยใช้ส้นมือ อายุ 1-8 ปี

การกดหน้าอกอย่างมีคุณภาพ high-quality chest compressions กดด้วยอัตราเร็ว อย่างน้อย 100 ครั้งต่อนาที ความลึกในการกด อย่างน้อย 2 นิ้ว (5 ซม.) ในผู้ใหญ่ อย่างน้อย 1/3 ของความหนาของหน้าอกในทารกและเด็ก(1.5 นิ้ว หรือ [4 ซม.] ในทารก และ 2 นิ้ว [5 ซม.] ในเด็ก) ปล่อยให้อกคืนตัวสุดหลังการกดแต่ละครั้ง ลดการหยุดกดหน้าอกให้น้อยที่สุด หรือกดหน้าอกต่อเนื่องกันให้ได้มาก ที่สุด อัตราส่วนของการกดหน้าอกต่อการช่วยหายใจ = 30:2

Bag-mask ventilations

Equipment Self-inflating bag infants and young children : volume 450 to 500 ml children or adolescents : 1000 mL O2 flow 10-15 L/min via reservoir bag or corrugated tube 6 cm ETT < 8 years  uncuff No. of ETT = age(yr)/4 +4 >8 years  cuff No. of ETT = age(yr)/4 + 3.5 Depth 3-fold of no.ETT or age(yr)/2 + 12 (>2 year) Blade < 2 years : Miller blade, > 2years : Macintoch blade

การสำลักสิ่งแปลกปลอม Foreign body aspiration อุบัติการสูงสุดในช่วยอายุ 1-2 ปี เด็กอายุ 1-2 ปี สามารถยืนและใช้ปากในการสำรวจสิ่งของ ใช้มือในการจับสิ่งของชิ้นเล็กได้ดี แต่ฟันกรามยังไม่พัฒนาในการเคี้ยวอาหารได้ดี สิ่งแปลกปลอมที่พบ คือ อาหาร เหรียญ คลิปหนีบกระดาษ เข็มหมุด ลูกแก้ว ของเล่นชิ้นเล็ก อุดกั้นทางเดินหายใจ หรือ ทางเดินอาหาร

สิ่งแปลกปลอมอุดกั้นทางเดินหายใจ ประวัติ ผลที่เกิดขึ้น ประวัติสำลักอาหารชัดเจน ไอมาก หายใจลำบาก หายใจเสียงดัง หรือ เสียงแหบ เด็กเล็ก  ปาก/ตัวเขียวคล้ำ ขาดอากาศ ปอดแฟบ / โป่งพอง ปอดอักเสบติดเชื้อ ถ้ามีการอุดกั้นแบบสมบูรณ์จะทำ ให้เสียชีวิตได้อย่างรวดเร็ว ***

การช่วยเหลือเบื้องต้น หมดสติ ไม่หมดสติ ไม่พบชีพจร  CPR พบชีพจร  ถ้าเห็นสิ่งแปลกปลอม ให้นำ ออก และช่วยเปิดทางเดินหายใจ  ไม่เห็นสิ่งแปลกปลอม ให้ ทำการกระแทกให้สิ่งแปลกปลอม หลุดออกมา*** รีบนำส่งโรงพยาบาลทันที เพื่อประเมินการอุดกั้นและนำ สิ่งแปลกปลอมออก หากไม่มีอาการแล้ว แต่สงสัย อาจมีการสำลัก ให้พบแพทย์ เพื่อพิจารณาตรวจเพิ่มเติม

เด็กเล็ก อายุ < 1 ปี กระแทกหลังกลางสะบัก 5 ครั้ง กดหน้าอก 5 ครั้ง ทำสลับกัน จนกว่าจะเห็นสิ่งแปลกปลอมหลุดออกมา ขณะเดียวกันรีบเรียกรถพยาบาลเพื่อนำส่งโรงพยาบาล

เด็กโต หรือ ผู้ใหญ่ : ใช้กำปั้นกระแทกบริเวณลิ้นปี่ ทำสลับกัน จนกว่าจะเห็นสิ่งแปลกปลอมหลุดออกมา ขณะเดียวกันรีบเรียกรถพยาบาลเพื่อนำส่งโรงพยาบาล

Take home message