การประชาคมชุมชน โครงการการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชุมชนน้ำด้วน 1 ร่วมใจ สร้างความปลอดภัยทางถนน
Advertisements

การประชุมแผนแม่บทพัฒนาลุ่มน้ำในเขตอำเภอแม่จัน 31 มีนาคม 2553 ณ ลานทองอุทยานวัฒนธรรมลุ่มน้ำโขง แผนพัฒนาลุ่มน้ำในเขตอำเภอแม่จัน.
พื้นที่จุดอ่อนน้ำท่วมและการแก้ปัญหา
ห้องประชุม โรงเรียนเทศบาล 7 ฝั่งหมิ่น
การเตรียมความพร้อมในการเสนอโครงการภายใต้แผนปฏิบัติการฯในระดับจังหวัด
ประเภท โครงการต่อยอด/ขยายผลโครงการเดิม(A)
ยุทธศาสตร์ชาติ เพื่อการพัฒนาที่อยู่อาศัย
สมชัย จิตสุชน สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย 16 กุมภาพันธ์ 2550
ยุทธศาสตร์พัฒนาลุ่มน้ำยม
หลักเกณฑ์การวิเคราะห์ความเสี่ยง ตามหลักธรรมาภิบาล
วันพฤหัสบดีที่ 29 มีนาคม 2555 เวลา น
วาระที่ 3.6 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานเกี่ยวกับตัวชี้วัด (กพร.)
แนวทางการเลือกพื้นที่เป้าหมาย
งานกลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาการบริหารการ จัดการฯ ผลงาน ณ เดือน เมษายน 2551.
ห้องประชุม กรมชลประทานที่ 11 ปากเกร็ด นนทบุรี
04/04/60 การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำงบประมาณจากเงินรายได้ของมหาวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา
ประกาศหลักเกณฑ์การบริหารกองทุนฯปี ๒๕๕๗
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ วันที่ 29 มกราคม 2551.
การออกแบบงานชลประทานเบื้องต้น (สำหรับบุคลากรในสายสนับสนุนกรมชลประทาน)
สำนักบริหาร การมีส่วนร่วมของประชาชน
สรุปบทเรียนผลการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์ กรมชลประทาน ปี 2552
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน
ระบบบริหารงบประมาณ และการเงิน (BIS)
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน
RID INNOVATION 2011 ระบบฐานข้อมูล รายงานสถานการณ์น้ำรายวัน สำนักชลประทานที่ 14.
การใช้ทรัพยากรเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
ขั้นตอนการวางผังเมืองรวม อย่างมีธรรมาภิบาล
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่ภูมิพลอดุลยเดช
ประมวลภาพ โครงการติดตามประเมินผล การปฏิบัติงานของผู้ตรวจสอบภายในจังหวัด ระยะที่ 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กลุ่มที่ 5 จังหวัดตรัง.
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
งบหน้าข้อมูลผู้รับเมล็ดพันธุ์ผักพระราชทานฯ
รายงานผลการดำเนินงานของ รัฐต่อสาธารณะ ประจำปี 2554 โดย กลุ่มงานมาตรฐาน สำนักพัฒนามาตรฐาน.
1. การให้ความรู้ด้านการผังเมือง
การบริหารงบประมาณ ขั้นตอน 1. จัดทำแผนปฏิบัติการ 2. การใช้จ่ายงบประมาณ
การทำ Social Mapping เพื่อหาข้อตกลง
ตัวอย่างการประเมินฯ ของกรมสารขัณฑ์
ศูนย์บริหารโครงการเงินกู้ เพื่อวางระบบบริหาร จัดการน้ำและสร้างอนาคต ประเทศ ตามคำสั่งกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ที่ 879/2555 ตามคำสั่งกรมอุทยานแห่งชาติ
แนวทางการจัดทำมาตรฐานความโปร่งใสของกรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2557
การพิจารณาคำขอรับค่าตอบแทนและอนุมัติให้ได้รับค่าตอบแทนตามระเบียบ ก. พ
บูรณาการประเทศไทย ก้าวพ้นภัยพิบัติ
คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การประชุมผู้บริหารกรมทรัพยากรน้ำ ครั้งที่ 9/2549 ระเบียบวาระที่ 4.4 การจัดทำคำของบประมาณจาก กองทุนสิ่งแวดล้อมเพื่อการฟื้นฟู อนุรักษ์แหล่งน้ำ ธรรมชาติ การจัดทำข้อเสนอโครงการเพื่อ.
วาระที่ การจัดทำแผนพัฒนาแหล่งน้ำ
โครงการจัดทำแผนการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำอย่างเป็นระบบ (การจัดทำฐานข้อมูลและสารสนเทศภูมิศาสตร์ ลุ่มน้ำสาขาหรือลุ่มน้ำย่อยนำร่อง)
การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “ โครงการพัฒนาศักยภาพและเพิ่มประสิทธิภาพบุคลากร สนับสนุนการติดตามประเมินผลการดำเนินงานของกรมทรัพยากรน้ำ ”
ประชุมสร้างความเข้าใจ นำนโยบายสู่การปฏิบัติ โครงสร้าง และแผนปฏิบัติการ
การประชุมชี้แจงรายละเอียด
ผลการดำเนินงานของจังหวัด
การสำรวจข้อมูลรายได้เกษตรกรที่ยากจน ในชุมชนยากจนปี 2549
คือ ระบบบัญชีคอมพิวเตอร์
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
รายงานการดำเนินงาน โครงการปรับปรุงฐานข้อมูลเกษตรกรรายครัวเรือน ภายใต้โครงการเพิ่มศักยภาพผู้ว่างงาน ศูนย์สารสนเทศ.
รายละเอียดข้อมูลเพื่อจัดทำแผนบริหารจัดการน้ำ
โครงการอ่างเก็บน้ำธารประเวศ อ.เกาะพงัน จ.สุราษฎร์ธานี
3.การจัดทำงบประมาณ.
กรมสุขภาพจิต. สรุปการดำเนินงาน โครงการรวมใจปรองดอง สมานฉันท์ กิจกรรมการ เยียวยาจิตใจ จำนวนรายชื่อผู้ได้รับผลกระทบ ผู้ได้รับบาดเจ็บและ ผู้เสียชีวิต ที่มีชื่อ.
สรุปการประชุม F.S.C เขตบริการสุขภาพที่ 2
ระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน จังหวัดสุโขทัย
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค

กิจกรรมอำนวยความปลอดภัยขณะก่อสร้าง
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ปัญหาและข้อเสนอแนะ เกี่ยวกับการใช้จ่ายเงินทดรองราชการ
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
การบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. ปี 2558
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2558
ระบบฐานข้อมูลทุนเรียงความ
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการคลังท้องถิ่น จังหวัดนครราชสีมา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประชาคมชุมชน โครงการการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน เพื่อออกแบบและก่อสร้างระบบการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำอย่างยั่งยืน และระบบแก้ไขปัญหาอุทกภัยฯของประเทศไทย วันพฤหัสที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 เวลา 13.30 น. ณ ห้องประชุมจุฬามณี 1 สำนักงานเทศบาลนครพิษณุโลก 1

กำหนดการ เวลา 13.30 น. ลงทะเบียน เวลา 13.30 น. ลงทะเบียน เวลา 14.00 น. นายกเทศมนตรีนครพิษณุโลก กล่าวเปิดการ ประชาคม เวลา 14.30 น. ข้อมูลเบื้องต้นแผนแม่บทการบริหารจัดการ ทรัพยากรน้ำ เวลา 14.45 น. คำแนะนำการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน เวลา 15.00 น. คัดเลือกประชาชนกลุ่มเป้าหมาย เวลา 15.30 น. ปิดการประชาคม สมิต เสริมนิภารัตน์ ผู้อำนวยการส่วนควบคุมอาคารและผังเมือง เทศบาลนครพิษณุโลก

กำหนดการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน การออกแบบและก่อสร้างระบบการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำอย่างยั่งยืน และระบบแก้ไขปัญหาอุทกภัยฯของประเทศไทย ณ หอประชุมศรีวชิรโชติ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก วันพุธที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 เวลา 7.00 น.-16.00 น.

หน่วยงานผู้รับผิดชอบดำเนินการ สำนักงานนโยบายและบริหารจัดการน้ำและอุทกภัยแห่งชาติ  กระทรวงมหาดไทย โดย กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ตำบลในเมือง อำเภอเมือง โดย เทศบาลนครพิษณุโลก

แผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ แผนงาน A1 : โครงการอ่างเก็บน้ำอย่างเหมาะสมและยั่งยืนในพื้นที่ลุ่มน้ำปิง ยม น่าน สะแกกรัง และป่าสัก แผนงาน B1 : การสร้างอ่างเก็บน้ำอย่างเหมาะสมและยั่งยืนในพื้นที่ลุ่มน้ำ 17 ลุ่มน้ำ แผนงาน A2 : การจัดทำผังการใช้ที่ดิน/การใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ลุ่มน้ำรวมทั้ง การจัดทำพื้นที่ปิดล้อมพื้นที่ชุมชนและเศรษฐกิจหลัก สำหรับพื้นที่ลุ่มน้ำเจ้าพระยา แผนงาน A3 : พื้นที่กักเก็บน้ำหลากชั่วคราว แก้มลิง แผนงาน A4 : การปรับปรุงสภาพลำน้ำสายหลักและการป้องกัน การกัดเซาะตลิ่งริม แม่น้ำในพื้นที่แม่น้ำยม น่าน เจ้าพระยา แผนงาน A5 : การก่อสร้างคลองผันน้ำ แผนงาน A6 B4 : ระบบคลังข้อมูลเพื่อการพยากรณ์และเตือนภัย รวมทั้งการบริหาร จัดการน้ำ แผนงาน B2 : การจัดทำผังการใช้ที่ดิน / การใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ลุ่มน้ำ รวมทั้ง การจัดทำพื้นที่ปิดล้อมพื้นที่ชุมชนและเศรษฐกิจหลักในพื้นที่ลุ่มน้ำ 17 ลุ่มน้ำ แผนงาน B3 : การปรับปรุงสภาพลำน้ำสายหลักและการป้องกันการกัดเซาะตลิ่งริม แม่น้ำในพื้นที่ลุ่มน้ำ 17 ลุ่มน้ำ

พื้นที่ดำเนินงานโครงการ ในจังหวัดพิษณุโลก แผนงาน A1 : อ่างเก็บน้ำ 1 แห่ง อ. เนินมะปราง ต.ชมพู แผนงาน A2 : พื้นที่ปิดล้อม 2 แห่ง เทศบาลนครพิษณุโลก อ. เมือง เทศบาลตำบลพรหมพิราม อ. พรหมพิราม แผนงาน A3 : พื้นที่แก้มลิง 5 อำเภอ 33 ตำบล อ. บางกระทุ่ม (8 ตำบล) อ. บางระกำ (5 ตำบล) อ. พรหมพิราม (9 ตำบล) อ. เมือง (9 ตำบล) อ. วัดโบสถ์ (2 ตำบล)

พื้นที่ดำเนินงานโครงการ ในจังหวัดพิษณุโลก แผนงาน A2 : พื้นที่ปิดล้อม 2 แห่ง เทศบาลนครพิษณุโลก อ. เมือง เทศบาลตำบลพรหมพิราม อ. พรหมพิราม

พื้นที่ดำเนินงานโครงการ ในจังหวัดพิษณุโลก

พื้นที่ดำเนินงานโครงการ ในจังหวัดพิษณุโลก

พื้นที่ดำเนินงานโครงการ ในจังหวัดพิษณุโลก ดูข้อมูลเพิ่มเติมได้จาก : ข้อมูลเผยแพร่โครงการของรัฐ โครงการเพื่อออกแบบและก่อสร้างระบบกำรบริหารจัดการทรัพยากรน้ำอย่างยั่งยืน และระบบแก้ไขปัญหาอุทกภัยของประเทศไทย ตามแผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ (ปิดประกาศที่สำนักงานเทศบาลนครพิษณุโลก ทั้ง 2 แห่ง) http://www.publicconsultation.opm.go.th

คำแนะนำการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน วิธีการ : การประชุมบุคคลที่เกี่ยวข้องหรือผู้มีส่วนได้เสียตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน พ.ศ.2548  สถานที่ : หอประชุมศรีวชิรโชติ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม จังหวัดพิษณุโลก  วันเวลา : วันพุธที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 เวลา 7.00 น. - 16.00 น.

ขั้นตอนการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน เวลา 7.00 น. รับลงทะเบียนและตรวจสอบสิทธิ์ในการเบิกค่าเดินทาง เวลา 8.00 น. ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย เข้าร่วมรับฟังความคิดเห็น เข้าประจำที่นั่ง หอประชุมศรีวชิรโชติ กิจกรรมภาคเช้า เวลา 8.00 น. การแสดงนิทรรศการการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำฯ 9 รูปแบบ โดย กบอ. เวลา 10.00 น. การบรรยายแนวทางการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำฯ (กลุ่มใหญ่ 1 เวที) โดย อาจารย์สถาบันการศึกษา

ขั้นตอนการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน กิจกรรมภาคบ่าย เวลา 13.00 น. การแบ่งกลุ่มเป้าหมายเพื่อรับฟังแนวทางการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำฯ ในแต่ละด้าน (กลุ่มย่อย 20 เวที) โดย อาจารย์สถาบันการศึกษา  เวลา 16.00 น. หลังเสร็จสิ้นการรับฟังความคิดเห็นฯ ผู้เข้าร่วมรับฟังความคิดเห็น กรอกแบบสอบถาม ใบสำคัญรับเงิน และเบิกจ่ายค่าเดินทางไปกลับ คนละ 400 บาท (จ่ายโดยจนท. ปภ.)

คำแนะนำการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน กรุณาศึกษาแผ่นแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำและข้อมูลต่างๆ ผู้เข้าร่วมรับฟังฯ ต้องให้ข้อมูลสถานะบุคคล หมายเลขบัตรประจำตัวประชาชน ชื่อ-นามสกุล และที่อยู่ ของตนเองให้ถูกต้องตามความเป็นจริง ระบบจะทำการตรวจสอบยืนยันสถานะบุคคลกับระบบทะเบียนราษฎร์ กระทรวงมหาดไทย ผู้เข้าร่วมรับฟังฯ กรุณาให้ข้อมูล แบบสอบถาม ให้ครบถ้วน ทุกรายการในแบบฟอร์ม ผู้เข้าร่วมรับฟังฯ กรุณาให้แสดง ข้อดี ผลกระทบ และ ข้อเสียต่างๆ ตามความเป็นจริงที่เกิดขึ้นในจังหวัดของท่าน ตามความเห็นของท่าน เพื่อการประมวลผลที่ถูกต้อง เป็นจริงและสมบูรณ์ ปิดรับแสดงความคิดเห็น หลังจัดเวทีรับฟังความคิดเห็นฯ ของจังหวัด ภายใน 7 วัน เพื่อประมวลผล และหาข้อสรุปร่วมกับผลการจัดเวทีรับฟังความคิดเห็น

คัดเลือกประชาชนกลุ่มเป้าหมาย ประชาชนรับผลโดยตรง/อ้อม 68 คน หน่วยงานระดับจังหวัด 1 คน หน่วยงานระดับท้องถิ่น 1 คน ผู้นำชุมชน 1 คน สถาบันการศึกษา/องค์กรเอกชน 3 คน ศาสนสถาน 1 คน สถานพยาบาล 1 คน หน่วยงานเอกชน/ผู้ประกอบการ 5 คน องค์กรพัฒนาเอกชน (NGO) 5 คน สื่อมวลชน 2 คน ประชาชนทั่วไป - คน รวม 88 คน

ขอบคุณครับ