การบริหารราชการแผ่นดิน ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า โรงเรียนวังไกลกังวล
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง รู้และเข้าใจบทบาทและอำนาจหน้าที่ขององค์กรที่เกี่ยวข้องกับ การบริหารราชการแผ่นดิน
การบริหารราชการแผ่นดิน ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น
ประโยชน์ของการแบ่งส่วนราชการ 1. คุณภาพของงาน มีประสิทธิภาพ 2. การบริการและการดูแลประชาชน ทั่วถึง รวดเร็ว 3. การกระจายอำนาจการปกครอง และการปกครองตนเอง
การบริหารราชการแผ่นดิน ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น - สำนักนายก รัฐมนตรี - กระทรวง ทบวง - กรม - กอง - แผนก - องค์การบริหาร ส่วนจังหวัด - เทศบาล ส่วนตำบล - สุขาภิบาล - กรุงเทพมหานคร - เมืองพัทยา - จังหวัด - อำเภอ - ตำบล - หมู่บ้าน
ระเบียบบริหาร ราชการส่วนกลาง เป็นการทำหน้าที่นำนโยบายของรัฐบาล มาวางแผนอำนวยการ ควบคุม และ ประสานงาน เพื่อให้การดำเนินงาน เป็นไปตามนโยบายรัฐบาล
ส่วนราชการซึ่งมีฐานะเทียบเท่ากรม 1. สำนักราชเลขาธิการ 2. สำนักพระราชวัง 3. สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ
4. สำนักงานคณะกรรมการพิเศษ เพื่อประสานงานโครงการอันเนื่อง มาจากพระราชดำริ 5. สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ 6. ราชบัณฑิตยสถาน 7. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
8. สำนักงานป้องกันและปราบปราม การฟอกเงิน 9. สำนักงานอัยการสูงสุด
ระเบียบบริหาร ราชการส่วนภูมิภาค ทำหน้าที่เป็นตัวแทนของส่วนกลาง นำแผนและโครงการไปปฏิบัติ แบ่ง อำนาจการบริหาร ให้จังหวัดและ อำเภอ 3 3 3 3 3 3 8 3 3
การดำเนินงาน 1. บริหารให้เป็นไปตามกฎหมายและ ระเบียบแบบแผนของทางราชการ 2. ปฏิบัติตามคำแนะนำและคำชี้แจง จากผู้ว่าราชการจังหวัด
3. ควบคุมการบริหารราชการส่วน ท้องถิ่นในอำเภอ 4. แต่ละอำเภอแบ่งเป็นหลายตำบล 5. แต่ละตำบลแบ่งเป็นหลายหมู่บ้าน
ระเบียบบริหารราชการ ส่วนท้องถิ่น เป็นการบริหารที่กระจายอำนาจไปสู่ ท้องถิ่น ให้ประชาชนมีส่วนในการ บริหารกิจการตามหลักการกระจาย อำนาจการปกครอง อยู่ภายใต้การ ดูแลของรัฐบาล 3 3 3 3 3 3 8 3 3
องค์การบริหารส่วนจังหวัด ฝ่ายนิติบัญญัติ ฝ่ายบริหาร ผู้ว่าราชการจังหวัด (แต่งตั้ง) สภาจังหวัด(เลือกตั้ง) ปลัดองค์การบริหารส่วนจังหวัด 8 7 7
สภาเทศบาล(นิติบัญญัติ) ประชาชน(เลือกตั้ง) สภาเทศบาล(นิติบัญญัติ) คณะเทศมนตรี(บริหาร) นายกเทศมนตรี ปลัดเทศบาล(พนักงานประจำ) สำนัก/กองต่างๆ สำนักงานปลัดเทศบาล 8 7 7
องค์การบริหารส่วนตำบล 1. จัดตั้งโดย พ.ร.บ.สภาตำบลและ องค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ.2537 2. ต้องทำเป็นประกาศของกระทรวง มหาดไทย
องค์การบริหารส่วนตำบล เลือก ฝ่ายนิติบัญญัติ ฝ่ายบริหาร - กำนัน - ผู้ใหญ่บ้าน - สมาชิกที่ได้รับ เลือกตั้ง โดย ตำแหน่ง เลือกตั้ง 8 7 7
กรุงเทพมหานคร 1. พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ กรุงเทพมหานคร พ.ศ.2528 2. ผู้ว่าราชการเป็นผู้รับผิดชอบบริหารงาน 3. มีรองผู้ว่าราชการจำนวน 4 คน 4. มีปลัดกรุงเทพมหานคร เป็นผู้รับผิดชอบ บังคับบัญชาดูแลงานประจำ
ผู้ว่าราชการ กทม. สภา กทม. ฝ่ายบริหาร ฝ่ายนิติบัญญัติ รองผู้ว่าฯ ประชาชน(เลือกตั้ง) ผู้ว่าราชการ กทม. ฝ่ายบริหาร สภา กทม. ฝ่ายนิติบัญญัติ รองผู้ว่าฯ ปลัด กทม. สำนักงาน ต่าง ๆ สำนักงาน เขต สภาเขต 8 7 7
เมืองพัทยา 1. พระราชบัญญัติระเบียบบริหารเมืองพัทยา พ.ศ.2521 2. มีปลัดเมืองพัทยา เป็นผู้บริหาร 3. สภาเมืองพัทยาประกอบด้วยสมาชิกจาก การเลือกตั้งและการแต่งตั้ง 4. การดำเนินงานคล้ายคลึงกับระบบผู้จัดการ
เมืองพัทยา ว่าจ้างโดย สัญญา แต่งตั้ง เลือกตั้ง รองปลัด กอง กอง สภาเมืองพัทยา ปลัดเมืองพัทยา แต่งตั้ง เลือกตั้ง รองปลัด กอง กอง 8 7 7