การบริหารโครงการ ยุทธนา พรหมณี.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

การวางแผนพัฒนาระบบสำนักงาน
การฝึกอบรมหลักสูตร การบริหารจัดการโครงการ และการติดตามประเมินผล
บทที่ 2 หลักการควบคุมภายใน
ความหมายของการวางแผน
มูลนิธิสถาบันที่ดิน 9 กรกฎาคม 2550
OpenProject รุ่นที่ มกราคม 2553 การเคหะแห่งชาติ อ
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
Research Problem ปัญหาการวิจัย
หลักเกณฑ์การวิเคราะห์ความเสี่ยง ตามหลักธรรมาภิบาล
งานพนักงานราชการและลูกจ้าง
หลักพื้นฐานในการวางแผนโดยงบประมาณ
Lesson 10 Controlling.
ความหมายและหลักการของการจัดการ
การวิเคราะห์ความต้องการด้านระบบ
BA 925 การบริหารกลยุทธ์ ภาคฤดูร้อน ปีการศึกษา 2551
องค์การสมัยใหม่ (Modern organization) หมายถึง การที่มีกลุ่มคนมาทํางาน ร่วมกันอย่างเป็นระบบ เพื่อให้ได้บรรลุเป้าหมายอย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งองค์สมัยใหม่การมีลักษณะร่วมกันอยู่
PDCA คืออะไร P D C A.
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
สภาพแวดล้อมปัจจุบัน โลกยุคโลกาภิวัตน์ สังคม เศรษฐกิจ
การติดตาม และประเมินโครงการ.
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
วัตถุประสงค์ของการศึกษาด้วยกรณีศึกษา
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
บทที่ 3 การวางแผน การบริหารจัดการที่จะประสบความสำเร็จจะต้องมีหน้าที่สำคัญ 4 ประการ การจัดองค์การ การนำ การควบคุม.
KM เรื่อง “การบริหารความเสี่ยง” ส่วนบริหารการจัดเก็บภาษี
นโยบายองค์การ Organisation Policy.
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
เพิ่มประสิทธิภาพ ผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP ด้านการจัดทำแผนธุรกิจ
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
บทที่ 15 Start การซ่อมบำรุงระบบ (System Maintenance) Next.
สรุปผลการเข้ารับการฝึกอบรม หลักสูตร “LEADERSHIP DEVELOPMENT PROGRAM” ของ นางนงลักษณ์ บุญก่อ ตำแหน่งนักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ สำนักตรวจราชการและติดตามประเมินผล.
การบริหารความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง ความเสี่ยง (RISK)
การศึกษาความเป็นไปได้ (Problem Definition and Feasibility Study)
การตรวจราชการ กับการบริหารความเสี่ยง
สาเหตุของการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในธุรกิจ
การบริหารความเสี่ยง (Risk Management)
ประชุมสร้างความเข้าใจ นำนโยบายสู่การปฏิบัติ โครงสร้าง และแผนปฏิบัติการ
บทที่ 3 Planning.
Self Assessment Self Assessment คือการประเมินตนเอง คือวิธีการที่จะทำให้องค์กรได้ทราบถึงสมรรถนะ จุดอ่อน จุดแข็งของตนเอง สามารถนำไปใช้ในการวางแผน ปรับปรุงองค์กรให้มีประสิทธิภาพ.
ความเสี่ยง ความเสี่ยง หมายถึง โอกาสที่จะเกิดความผิดพลาด ความเสียหาย การรั่วไหล ความสูญเปล่า หรือเหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ ที่ทำให้งานไม่ประสบผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่กำหนดไว้
การเพิ่มผลผลิต Productivity
การบริหารและกระบวนการวางแผน
การวางแผนและควบคุมกำไรโดยงบประมาณ
การติดตามการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ ครั้งที่ 2
การตรวจสอบ และการควบคุมภายใน
การวิเคราะห์โครงการ (Project Appraisal)
บทที่ 6 การเปลี่ยนแปลงเข้าสู่การออกแบบระบบ การประเมินทางเลือกซอฟท์แวร์
Evaluation as a Strategy ; สำนักประเมินผล สำนักงบประมาณ
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
“ การตรวจราชการ บูรณาการเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพระบบบริหาร ”
หมวด 6 การจัดการกระบวนการ Process Management
การยกระดับคุณภาพการศึกษา สู่การปฏิบัติ
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
การจัดทำแผนปฏิบัติงานประจำปี
หน่วยที่ ๙ การเขียนโครงการ
วิชาโครงการ 4 หน่วยกิต 2 ชั่วโมง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบ Introduction to the System
การสร้างทีมงานในการบริหารโครงการ
หลักการเขียนโครงการ.
Planing : ระบบการวางแผนงบประมาณ
ผลงานวิจัยเรื่อง “การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาธุรกิจทั่วไป เรื่องรูปแบบขององค์กรธุรกิจของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 แผนกบริหารธุรกิจโดยใช้ชุดการสอนแบบศูนย์การเรียน.
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
บทที่ 7 การควบคุมเชิงกลยุทธ์
การประเมินโครงการ (Project Evaluation)
การบริหารโครงการ ยุทธนา พรหมณี.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การบริหารโครงการ ยุทธนา พรหมณี

เรามารู้จักศัพท์ ที่จะเรียนรู้หมายความว่าอย่างไร การจัดการ/การบริหาร Administration Management การจัดการ การบริหาร การนำนโยบายไปปฏิบัติ เป็นเรื่องนโยบาย Policy เป็นไปทางธุรกิจ เป็นทางราชการ

การบริหารคือ อะไร ฮาร์โรลด์ ดี คูนซ์ (Harold D. Koontz) การบริหาร คือ การทำงานที่ได้รับมอบหมายให้สำเร็จลุล่วง สมบูรณ์โดย อาศัยผู้อื่น จอห์น จี ฮัทชิสัน (John G. Hutchinson) กล่าวว่า การ บริหาร คือ ศิลปะ หรือความสามารถ ในการรวบรวมวัตถุ และกำลังคนเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนดได้ เออร์เนส เดล (Ernest Dake) การบริหารคือ กระบวนการ จัดการองค์กร และการใช้ทรัพยากรต่าง ๆ เพื่อให้บรรลุ วัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ล่วงหน้า

สรุปการบริหาร คือ ศิลปะหรือความสามารถในการรวม วัตถุ รวมบุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป ร่วมมือ ร่วมแรง ร่วม ใจในการทำงาน เพื่อให้งานบรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ โดยคำนึงถึงการจัดการทรัพยากรที่มีประสิทธิภาพ การ บริหารจึงประกอบด้วย มีวัตถุประสงค์ มีทรัพยากรในการบริหาร มีการประสานงานระหว่างกัน หรือมีปฏิกิริยาร่วมกัน (Interaction)

ความแตกต่างระหว่างการบริหาร/การจัดการ การบริหาร Administration การจัดการ Management 1. เป็นเรื่องการกำหนดนโยบาย 1. เป็นเรื่องการนำนโยบายไปปฏิบัติ 2. เป็นการกำหนดนโยบายขั้นสูงขององค์กร 2. เป็นการทำงานระดับต่ำขององค์กร 3. เป็นการบริหารทุกวิถีทางที่จะทำให้บรรลุผลสำเร็จโดยที่คำนึงถึงผลตอบแทนตนเอง 3. เป็นการบริหารโครงการ เพื่อบรรลุเป้าหมาย เพื่อให้องค์กรอยู่รอด 4. ใช้ในหน่วยงานของรัฐ /หรือหน่วยงานไม่หวังผลกำไร 4. ใช้ธุรกิจเอกชน มุ่งผลกำไร 5. เป็นการบริหารระดับสูง ระดับการกำหนดนโยบายวางแผน 5. เป็นเรื่องการจัดการองค์กรโดยตรง

การบริหารโครงการ (Project management) หมายถึง การจัดการ การใช้ทรัพยากรต่าง ๆ ที่มีอยู่อย่างเหมาะสม เพื่อวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

ปัจจัยในการบริหาร 4’Ms 1. คน (Men) 2. เงิน (Money) 3. วัตถุ (Material) 4. วิธีปฏิบัติงาน (Method)

การบริหารสมัยใหม่ 7’Ms 1. คน (Men) 2. เงิน (Money) 3. วัตถุ (Material) 4. วิธีปฏิบัติงาน (Method) 5. Market (ตลาด) 6. Machine (เครื่องจักร) 7. Morale (ขวัญ/กำลังใจ)

ความสำคัญของการบริหารโครงการ ทราบวัตถุประสงค์และหน้าที่ของการ ปฏิบัติงาน เกิดการประสานงาน เกิดการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ เกิดผลลัพธ์หรือเกิดประสิทธิผลสูงสุด

วัตถุประสงค์ของการบริหารโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานโครงการบรรลุวัตถุประสงค์ ตามที่กำหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพ

ประโยชน์จากการบริหารโครงการ ลดความเสี่ยงจากโครงการ การดำเนินงานเป็นไปตามแผนที่วางไว้ เชื่อมั่นว่ากิจกรรมดำเนินไปตามทิศทางที่กำหนดไว้ เกิดระบบประสานงานและความร่วมมือ สามารถปรับแผนหรือแก้ปัญหาได้ทันท่วงที ทราบผลการดำเนินงานว่าประสบผลสำเร็จเพียงใด

ตาราง เปรียบเทียบขั้นตอนการบริหารโครงการ 3 ขั้นตอน 5 ขั้นตอน 8 ขั้นตอน 1. ขั้นการวางแผนโครงการ 1. ขั้นการศึกษาและกำหนดโครงการ 1. ขั้นกำหนดหลักการ 2. ขั้นการจัดเตรียมโครงการ 2. ขั้นกำหนดโครงการ 2. ขั้นการดำเนินงานตาม โครงการ 3. ขั้นการประเมินและอนุมัติ โครงการ 3. ขั้นการวิเคราะห์และ ประเมินโครงการ 4. ขั้นอนุมัติโครงการ 3. ขั้นการติดตามและ ประเมินผลโครงการ 4. ขั้นการดำเนินงานและติดตาม โครงการ 5. ขั้นการปฏิบัติงาน 6. ขั้นติดตามและรายงาน ผลการปฏิบัติงาน 5. ขั้นการติดตามและประเมิน ผลการประเมินผลโครงการ 7. ขั้นเปลี่ยนเป็นงานบริหาร ตามปกติ 8. ขั้นการประเมินผล โครงการ

กระบวนการบริหารโครงการ วงจรการแก้ไขปัญหา (Problem-Solving Cycle) วางแผน ปัญหา ควบคุม จัดองค์กร นำไปปฏิบัติ

กระบวนการบริหารโครงการ การวางแผน การจัดหน่วยงาน การอำนวยการ/ติดตาม/ควบคุม

การวางแผนโครงการ การวางแผน หมายถึง การวางแผนหรือการ กำหนดอนาคตล่วงหน้าเกี่ยวกับภาระกิจ หรือกิจกรรมต่าง ๆ ที่จะกระทำให้บรรลุ วัตถุประสงค์ที่ต้องการ

การวางแผนโครงการ วัตถุประสงค์ เพื่อกำหนดทิศทางของการดำเนินงาน เพื่อลดผลกระทบของการเปลี่ยนแปลง เพื่อลดความสูญเสียจากความผิดพลาด เพื่อเป็นมาตรฐานสำหรับการควบคุม

ลักษณะของการวางแผนโครงการที่มีประสิทธิผล มีความเฉพาะเจาะจง (Specific) มีความยืดหยุ่น (Flexibility) มีการประสานที่ดี (Improved Coordination) มีการวางแผนการควบคุมที่ดี (Better Control)

องค์ประกอบของการวางแผนโครงการ (Project Plans Elements) การกำหนดภาพรวมของโครงการ การกำหนดวัตถุประสงค์ของโครงการ การกำหนดเนื้อหาทั่วไปของโครงการ การพิจารณาข้อตกลงการปฏิบัติงาน การกำหนดเวลาในการปฏิบัติ ทรัพยากรที่ใช้ในการบริหารโครงการ บุคคลในการดำเนินโครงการ เครื่องมือหรือเทคนิคในการประเมินโครงการ การพิจารณาปัญหาที่อาจเกิดขึ้น

กระบวนการวางแผนโครงการ การเก็บรวบรวมข้อมูล การตั้งสมมุติฐาน การกำหนดเป้าหมาย ทบทวนโอกาสและความเป็นไปได้ พิจารณาแนวทางการวางแผนควบคุมและ ผลักดัน

กลุ่มบุคคลที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการวางแผนโครงการ คณะกรรมการอำนวยการ (Board of Directors) ผู้บริหารระดับสูง (Senior Management) ผู้จัดการตามสายงาน (Functional Manager) ผู้จัดการโครงการ (Project Manager) ผู้จัดการกลุ่มงาน (Work Package Manager) ผู้เชี่ยวชาญหรือผู้ชำนาญพิเศษ (Professionals) ผลผลิตของการวางแผน คือ ตัวแผน (Plan)

ลักษณะของแผนที่ดี มีความชัดเจน (Clearness) มีความสมบูรณ์ (Completeness) มีความแม่นตรง (Accuracy) มีความครอบคลุม (comprehensiveness) มีความยืดหยุ่น (Flexibility) มีความเป็นพิธีการ (Formality)

ลักษณะของแผนที่ดี(ต่อ) มีความง่ายในการปฏิบัติ (Ease of Implementation) มีความง่ายในการควบคุม (Ease of Control) มีความประหยัด (Economy)

ขอบพระคุณ สวัสดีครับ เพ่ง บัวหอม นักศึกษาหลักสูตร นักเจรจาไกล่เกลี่ย รุ่นที่ ๓ 4/7/2017