“อาเซียน: โอกาสที่ไร้พรมแดน” สัมมนาหอการค้าทั่วประเทศ ครั้งที่ 32 (กลุ่มย่อยที่ 1) 22 พฤศจิกายน 2557
ASEAN Economics Community 3 เสาหลักของอาเซียน ASEAN Economics Community
วัตถุประสงค์ของ AEC (AEC Blueprint) Single Market and production base High competitive economic region Equitable economic development Fully Integrated into global economy เป็นตลาดและ ฐานการผลิตร่วม แผนงานที่จะส่งเสริมการเคลื่อนย้ายสินค้า บริการ การลงทุน แรงงาน และ เงินทุนที่เสรี โดยลดอุปสรรคในด้านต่างๆ เป็นภูมิภาคที่มี ขีดความสามารถ ในการแข่งขันสูง แผนงานที่จะส่งขีดความสามารถในด้านต่างๆ อาทิ นโยบายการแข่งขัน ทรัพย์สินทางปัญญา e-commerce ฯลฯ การพัฒนาทางเศรษฐกิจ อย่างเท่าเทียมกัน แผนงานที่จะส่งเสริมการรวมกลุ่มของประเทศสมาชิกและลดช่องว่าง/ความแตกต่างของระดับการพัฒนาระหว่างสมาชิกเก่าและใหม่ การเชื่อมโยงของอาเซียนเข้ากับเศรษฐกิจโลก แผนงานที่จะส่งเสริมการรวมกลุ่มเข้ากับประชาคมโลกโดยการปรับประสานนโยบายในระดับภูมิภาคและสร้างเครือข่ายการผลิต/จำหน่าย
นโยบายการลดภาษี ของประเทศอาเซียน
รายการลดภาษีนำเข้าของสินค้าปกติ (พิกัด 6 หลัก) ประเทศ รายการลดภาษีของสินค้าปกติ (สินค้าประเภท Inclusion List) สินค้าที่มีอัตราภาษีเป็น 0 อยู่แล้ว % ของสินค้า ที่ลดภาษี เป็น 0 แล้ว อัตราภาษี 0% อัตราภาษี 1-5% 11-15% 16-20% อัตราภาษี >20% บรูไน 1,115 3,891 99% กัมพูชา 184 3,653 485 202 137 65 254 9% อินโดนีเซีย 3,965 1,026 ลาว 3,716 1,135 66 51 15 11 8 74% เมียนมาร์ 69 4,676 72 31 7 2 154 4% มาเลเซีย 2,309 2,685 ฟิลิปปินส์ 4,908 99 สิงคโปร์ 5,049 100% เวียดนาม 1,346 2,009 10 1,629 59% ไทย 4,005 1,037 หมายเหตุ: ประเทศสมาชิกอาเซียน 6 ลดเหลือร้อยละ 0 ภายใน 1 มกราคม 2553 ประเทศอาเซียนใหม่ ลดเหลือร้อยละ 0-5 ภายใน 2546 สำหรับเวียดนาม ในปี 2548 ลาว เมียนมาร์ และกัมพูชา ในปี 2550 และเหลือร้อยละ 0 ภายใน 31 ธันวาคม 2558 ที่มา: กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ (2557)
รายการลดภาษีนำเข้าของสินค้าอ่อนไหว ประเทศ รายการสินค้า Highly Sensitive List อัตราภาษีมากกว่า 0% รายการสินค้า Sensitive List บรูไน - กาแฟ ชา กัมพูชา เนื้อไก่ ปลามีชีวิต ผักผลไม้บางชนิด พืชบางชนิด อินโดนีเซีย ข้าว (อัตราภาษีลดเหลือร้อยละ 25 ในปี 2558) น้ำตาล (อัตราภาษีลดเหลือร้อยละ 5-10 ในปี 2558) ลาว สัตว์มีชีวิต เนื้อโคกระบือ สุกร ไก่ ผักผลไม้บางชนิด ข้าว ยาสูบ เมียนมาร์ ถั่ว กาแฟ น้ำตาล ไหม ฝ้าย มาเลเซีย ข้าว (อัตราภาษีลดเหลือร้อยละ 20 ในปี 2553) สัตว์มีชีวิตบางชนิด เนื้อสุกร ไก่ ไข่ พืชและผลไม้บางชนิด ยาสูบ ฟิลิปปินส์ ข้าว (อัตราภาษีลดเหลือร้อยละ 35 ในปี 2558) น้ำตาล (อัตราภาษีลดเหลือร้อยละ 5 ในปี 2558) สัตว์มีชีวิตบางชนิด เนื้อสุกร ไก่ มันสำปะหลัง ข้าวโพด สิงคโปร์ เวียดนาม สัตว์มีชีวิตบางชนิด เนื้อไก่ ไข่ พืชบางชนิด เนื้อสัตว์ปรุงแต่ง น้ำตาล ไทย กาแฟ มันฝรั่ง มะพร้าวแห้ง และไม้ตัดดอก หมายเหตุ: สินค้า Highly Sensitive List เก็บภาษีได้มากกว่า 5% สินค้า Sensitive List เก็บภาษีได้ไม่เกิน 5% ที่มา: กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ (2557)
ตัวอย่างอัตราภาษีนำเข้าของประเทศอาเซียนในปัจจุบัน สินค้า ข้าว (รหัส 10.06) หมายเหตุ บรูไน 0% - กัมพูชา ข้าวเปลือกเพื่อเพาะปลูก (1006.10) = 0% ข้าวกล้อง ข้าวที่สีแล้ว ปลายข้าว (1006.20 – 1006.40) = 5% ลดเหลือ 0% ภายใน 31 ธันวาคม 58 อินโดนีเซีย 30% (ปี 57) 25% (ปี 58) สินค้า Highly Sensitive สปป.ลาว 5% สินค้า Sensitive List มาเลเซีย 20% ปลายข้าว (1006.40) = 15% เมียนมาร์ ข้าวกล้อง ข้าวที่สีแล้ว ปลายข้าว (1006.20 – 1006.40) =5% ฟิลิปปินส์ 40% (ปี 57) 35% (ปี 58) สิงคโปร์ ไทย เวียดนาม
ตัวอย่างอัตราภาษีนำเข้าของประเทศอาเซียนในปัจจุบัน สินค้า น้ำตาล (รหัส 17.01) หมายเหตุ บรูไน 0% - กัมพูชา 5% ลดเหลือ 0% ภายใน 31 ธันวาคม 58 อินโดนีเซีย น้ำตาลดิบจากหัวบีต (1701.12) = 20% (ปี 57) = 10% (ปี 58) น้ำตาลดิบจากอ้อย (1701.13 - 1701.14) = 10% (ปี 57) = 5% (ปี 58) น้ำตาลดิบอื่นๆ ที่เติมสารปรุงแต่งกลิ่นรส (1701.91) สินค้า Highly Sensitive สปป.ลาว มาเลเซีย เมียนมาร์ ฟิลิปปินส์ 10% (ปี 57) 5% (ปี 58) สิงคโปร์ ไทย เวียดนาม
ตัวอย่างอัตราภาษีนำเข้าของประเทศอาเซียนในปัจจุบัน สินค้า กาแฟ (รหัส 09.10) หมายเหตุ บรูไน 0% สินค้า Sensitive List กัมพูชา 5% ลดเหลือ 0% ภายใน 31 ธันวาคม 58 อินโดนีเซีย - สปป.ลาว ยกเว้น กาแฟคั่ว ทั้งบดและไม่บด และกาแฟอื่นๆ (0901.21 - 0901.90) = 5% มาเลเซีย เมียนมาร์ ยกเว้น กาแฟคั่วและแยกกาเฟอีน และกาแฟอื่นๆ (0901.12.90, 0901.90.10, 0901.90.20) = 5% ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ ไทย ยกเว้น กาแฟอื่นๆ (เปลือกและเยื่อกาแฟ) (0901.90.10) = 5% เวียดนาม
กฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้า (Rule of Origin)
กฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้า (Rule of Origin) คือ กฎเกณฑ์ทางการค้าระหว่างประเทศที่ใช้ตัดสินว่าสินค้าแต่ละประเภทมีแหล่งกำเนิดมาจากประเทศใด ซึ่งสินค้าที่ได้แหล่งกำเนิดจะต้องมีใบรับรองแหล่งกำเนิด Origin Conferred (Certificate of Origin : C/O)
เกณฑ์การพิจารณา RO กฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้าจำแนกตามแหล่งที่มาของวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตสินค้าได้ 2 ประเภท คือ กฎการใช้วัตถุดิบในประเทศทั้งหมด (Wholly Obtained: WO) ใช้ในกรณีที่สินค้าส่งออกผลิตขึ้นโดยใช้วัตถุดิบในประเทศทั้งหมด หรือสินค้าที่ทั้งหมดได้จากประเทศผู้ส่งออก ได้แก่ ผลิตภัณฑ์แร่ธาตุที่สกัดจากพื้นดิน พื้นน้ำ หรือท้องทะเลของประเทศนั้น ผลิตผลทางการเกษตร ซึ่งเก็บเกี่ยวได้ในประเทศนั้น สัตว์ที่มีกำเนิดและเลี้ยงเติบโตในประเทศนั้น เป็นต้น
เกณฑ์การพิจารณา RO กฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้าจำแนกตามแหล่งที่มาของวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตสินค้าได้ 2 ประเภท คือ กฎการแปรสภาพอย่างเพียงพอ (Substantial Transformation: ST) ใช้ในกรณีที่สินค้าไม่ได้ใช้วัตถุดิบในประเทศทั้งหมด จะต้องเป็นสินค้าที่ผ่านกระบวนการผลิตภายในประเทศที่ทำให้สินค้านั้นมีการเปลี่ยนแปลงสภาพอย่างเพียงพอ หรือถ้ามีมากกว่าหนึ่งประเทศเกี่ยวข้องในกระบวนการผลิต จะพิจารณาให้กับประเทศที่กระบวนการผลิตทำให้มีการเปลี่ยนแปลงสภาพอย่างเพียงพอครั้งสุดท้าย (Last Substantial Transformation) การพิจารณาว่าสินค้าที่มีกระบวนการผลิตโดยการแปรสภาพอย่างเพียงพอพิจารณาได้จาก 3 ลักษณะ ดังนี้ การใช้สัดส่วนมูลค่าเพิ่มภายในประเทศ (Regional Value Content: RVC) การเปลี่ยนพิกัดอัตราศุลกากร (Change in Tariff Classification: CTC) เกณฑ์การใช้กระบวนการผลิต (Processing Operation)
ขั้นตอนการตรวจสอบและขอใบรับรองแหล่งกำเนิดสินค้า กรมศุลกากร ใช้อัตราภาษี ทั่วไป ใช้อัตราภาษี AFTA
ขั้นตอนการขอ Form D 1. การตรวจถิ่นกำเนิดสินค้า
1. การตรวจถิ่นกำเนิดสินค้า สินค้าเกษตร (พิกัดฯ 01-24) สินค้าอุตสาหกรรม (พิกัดฯ 25-97) ยื่นแบบขอรับการตรวจฯ พร้อม กับการยื่นขอหนังสือรับรองฯ ยื่นแบบขอรับการตรวจฯและคำรับรองการผลิต ก่อน ยื่นขอหนังสือรับรองฯ
2. การขอรับหนังสือรับรองถิ่นกำเนิดสินค้า Form D ระบบ ELECTRONIC ส่งข้อมูลด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์รอรับเอกสารได้ ประหยัดเวลาและค่าใช้จ่าย
หน่วยงานที่ให้บริการออกหนังสือรับรองฯ ส่วนกลาง กรมการค้าต่างประเทศ สนามบินน้ำ อาคารตรวจสอบสินค้า ขาออก สุวรรณภูมิ อาคารตรวจสินค้าขาออกท่าเรือกรุงเทพฯ ศูนย์บริการส่งออกแบบเบ็ดเสร็จ กรมส่งเสริม การส่งออก ส่วนภูมิภาค สำนักงานการค้าต่างประเทศ เขต 1 (เชียงใหม่) สำนักงานการค้าต่างประเทศ เขต 2 (หาดใหญ่) สำนักงานการค้าต่างประเทศ เขต 3 (ชลบุรี) สำนักงานการค้าต่างประเทศ เขต 4 (สระแก้ว) สำนักงานการค้าต่างประเทศ เขต 5 (หนองคาย) สำนักงานการค้าต่างประเทศ เขต 6 (เชียงราย) สำนักงานพาณิชย์จังหวัด 76 จังหวัด
1. มาตรฐานสินค้า สุขอนามัย สุขอนามัยพืช มาตรการที่มิใช่ภาษี Non Tariff Measures : NTMs 1. มาตรฐานสินค้า สุขอนามัย สุขอนามัยพืช 2. มาตรการนำเข้าสินค้า เช่นใบอนุญาตนำเข้า
มาตรการการค้าที่มิใช่ภาษี (Non Tariff Measures : NTMs) ประเทศบรูไน มาตรการฐานด้านสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช (Sanitary and Phyto Sanitary : SPS) สินค้าประเภทพืช ต้องได้รับการตรวจสอบจากกระทรวงการเกษตร ยกเว้น ผัก ผลไม้ ชา กาแฟ เครื่องเทศ ธัญพืชและเมล็ดพันธุ์ ที่ต้องได้รับการตรวจสอบที่ต้นทางก่อนนำเข้าไม่เกิน 14 วัน ก่อนการจนส่งจริง สินค้าผลิตภัณฑ์อาหาร เนื้อสัตว์ ไก่สดแช่แข็ง น้ำมันและไขมันสัตว์ ต้องผ่านการตรวจสอบอย่างเคร่งครัดโดยเฉพาะฮาลาล ฮาลาล ต้องผ่านการตรวจสอบมาตรฐานฮาลาลอย่างเข้มงวด โรงฆ่าสัตว์ต้องได้รับรองจากหน่วยงาน รวมทั้งไก่สดแช่แข็งสามารถนำเข้าได้จากบรัษัทผู้ส่งออกที่ได้รับอนุญาต ( Control Cold Co.,Ltd และ Storage Data Group of Companies ) จากประเทศมาเลเซียเท่านั้น มาตรการควบคุมการนำเข้า ข้าวและน้ำตาล ต้องผ่านการเจรจาระดับรัฐต่อรัฐ และผู้ส่งออกต้องได้รับใบอนุญาตนำเข้าเป็รกรณีพิเศษ เวชภัณฑ์ ปุ๋ยเคมีภัณฑ์ กาว สบู่ เครื่องสำอาง สารเคมีการเกษตร ไม้ซุง พาหนะใช้แล้ว อะไหล่เครื่องบิน เรดาห์ โทรศัพท์ไร้สาย เครื่องรับสัญญาณวิทยุ ต้องได้รับใบอนุญาตนำเข้าจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ที่มา : http://www2.moc.go.th/ewt_dl_link.php?nid=7029 http://aec.ditp.go.th/
มาตรการการค้าที่มิใช่ภาษี (Non Tariff Measures : NTMs) ประเทศกัมพูชา การออกใบอนุญาตการนำเข้า สินค้าและบริการ ต้องได้รับความเห็นชอบการนำเข้าสินค้าเกษตรจากกรม Camcontrol กระทรวงพาณิชย์กัมพูชา ซึ่งมีหน้าที่ตรวจสอบคุณภาพสินค้า สุขอนามัย วันเดือนปีผลิต/หมดอายุ มาตรฐานด้านสุขอนามัยและสุขอนามันพืช สินค้าทุกชนิด ต้องมีใบรับรองสุขอนามัยจากประเทศผู้ผลิตตามความต้องการของประเทศผู้นำเข้า ผักผลไม้ ต้องมีใบรับรองปลอดศัตรูพืช และกักกันสุ่มตรวจ ณ ด่านนำเข้า เนื้อสัตว์ ต้องมีใบรับรองสุขอนามัย และกักสุ่มตรวจ ณ ด่านนำเข้า มาตรการด้านเทคนิคที่เป็นอุปสรรคทางการค้า (Technical Barriers to Trade : TBT) ผลิตภัณฑ์อาหาร กำหนดให้สลากต้องระบุข้อมูลรายละเอียดผู้ผลิต วันเดือนปี ผลิตและหมดอายุ ส่วนผสม การใช้งาน บริโภค โดนต้องเป็นภาษาเขมร หากนำเข้ามาเพื่อบริโภค การห้ามนำเข้า (Import Prohibiton) สินค้าที่กระทบต่อความมั่นคง ความปลอดภัย สุขอนามัย สิ่งแวดล้อม และอุตสาหกรรมภายในประเทศ ได้แก่ อาวุธ วัตถุระเบิด รถยนต์และเครื่องจักรที่ใช้ในทางการทหาร ทอง เครื่องเงิน เงินตรา ยาและยาพิษ ที่มา : http://www2.moc.go.th/ewt_dl_link.php?nid=7029 http://aec.ditp.go.th/
มาตรการการค้าที่มิใช่ภาษี (Non Tariff Measures : NTMs) ประเทศอินโดนีเซีย มาตรการควบคุมการนำเข้า อุปกรณ์เกษตร สินค้าจอบ เสียม และพลั่ว เป็นสินค้าควบคุม เนื่องจากต้องการปกป้องสินค้าที่ผลิตในประเทศ ได้แต่งตั้งบริษัทผู้รับนำเข้าเพียง 3 ราย (รัฐวิสาหกิจอินโดนีเซีย) และผู้นำเข้าจะต้องขออนุญาตนำเข้าจากกระทรวงการค้าอินโดนีเซีย มาตรการห้ามนำเข้า กุ้ง เนื่องจากมีโรคระบาด จึงห้ามนำเข้าเพื่อมิให้โรคกระจายออกไป เกลือ เพื่อปกป้องผู้ผลิตภายในประเทศ ยาแผนโบราณ เนื่องจากพบว่ามีสารอันตราย ที่มา : http://www2.moc.go.th/ewt_dl_link.php?nid=7029 http://aec.ditp.go.th/
ประเทศอินโดนีเซีย (ต่อ) การออกใบอนุญาตการนำเข้า สินค้าข้าว จะต้องให้หน่วยงาน BULOG เป็นผู้ขออนุญาตนำเข้าจากกระทรวงการค้า ในกรณีที่ปริมาณข้าวภายในประเทศไม่เพียงพอ และเพื่อรักษาเสถียรภาพของราคาข้าวในประเทศ กลุ่มข้าวหอมมะลิ ต้องมีวัตถุประสงค์พิเศษในการนำเข้า เช่น นำเข้าเพื่อสุขภาพ สินค้าแป้งข้าวเจ้า และแป้งข้าวเหนียว จะต้องได้รับการ (Recommendation) นำเข้าจากกระทรวงเกษตร และผู้นำเข้าต้องขออนุญาตนำเข้า จากกระทรวงการค้า สินค้าจำพวก น้ำมันหล่อลื่น เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เครื่องยนต์ แทรกเตอร์ เครื่องมือที่ใช้งานด้วยมือ สารให้ความหวานสังเคราะห์ เครื่องยนต์และปั๊ม ท่อส่งน้ำมัน จำกัดปริมาณการนำเข้า ผู้นำเข้าต้องผ่านการรับรอง และจดทะเบียนผู้นำเข้าที่เป็นผู้ผลิต ผู้ขาย หรือรัฐวิสาหกิจ เช่น DAHANA, PERTAMINA, และBULOG อาหารทะเลสด และแปรรูป จะต้องขออนุญาตนำเข้า โยขอใบรับรองการนำเข้าจากกระทรวงกิจการทางทะเล และประมง และได้รับความเห็นจากรัฐมนตรีกระทรวงประมง เนื้อสัตว์ และสัตว์มีชีวิต ขออนุญาตนำเข้าเพื่อป้องกันโรค ยา และผลิตภัณฑ์ ต้องมีการจดทะเบียนและขออนุญาตนำเข้า เครื่อง หรืออุปกรณ์ขุดเจาะน้ำมันและก๊าซ ต้องขออนุญาต รถยนต์เพื่อการท่องเที่ยวและกีฬา ต้องขออนุญาตชั่วคราว อะลูมิเนียมไนเตรทที่ไม่ได้นำมาใช้เป็นส่วนประกอบในการทำระเบิด วัตถุดิบที่ใช้ในอุตสาหกรรมมิใช่นม ผลิตภัณฑ์นมสำเร็จรูป ต้องเป็นผู้นำเข้าที่ได้รับการรับรอง (Approved Import : ID) ยาแผนโบราณ ยาสมุนไพร เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ สารให้ความหวานสังเคราะห์ อาหาร เครื่องดื่ม ผลไม้ และผลิตภัณฑ์สินค้าเกษตร ผู้นำเข้าจะต้องจดทะเบียนกับ Ministry of Trade and Industry หรือ จดทะเบียนกับ Department of Health (BPOM) ของอินโดนีเซีย และระบุหมายเลขทะเบียน (ML NO.) ลงในผลิตภัณฑ์ด้วย
มาตรการการค้าที่มิใช่ภาษี (Non Tariff Measures : NTMs) ประเทศลาว มาตรฐานด้านสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช เนื้อสัตว์ และสัตว์มีชีวิต ต้องได้รับใบอนุญาตจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง น้ำมันเชื้อเพลิง ยานพาหนะทุกชนิด หนังสือและสิ่งพิมพ์อื่นๆ เกมส์ที่เป็นภัยต่อจริยธรรมของเยาวชน เครื่องรับสัญญาณดาวเทียว ปืนกีฬา อุปกรณ์สนุกเกอร์ บุหรี่ ผลิตภัณฑ์แอลกอฮอล์ เครื่องมือสื่อสาร สินแร่และเคมีภัณฑ์ สิ่งตีพิมพ์ จักรยาน ต้องได้รับในอนุญาตจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง มาตรการห้ามนำเข้า ปืน ลูกปืน และอาวุธสงครามทุกชนิด และพาหนะเพื่อใช้ในสงคราม เมล็ดฝิ่น ดอกฝิ่น กัญชา โคเคน และส่วนประกอบ เครื่องมือหาปลาแบบดับศูนย์ เครื่องจักรดีเซลใช้แล้ว ตู้เย็น ตู้ทำน้ำเย็น ตู้แช่ หรือตู้แช่แข็งที่ใช้CFC สินค้าที่ใช้แล้ว (สินค้ามือสอง) เช่น เสื้อผ้า, อิเลกทรอนิกส์, เครื่องใช้ไฟฟ้า, อุปกรณ์ตกแต่งบ้าน, เครื่องใช้เซรามิก โลหะเคลือบ แก้ว โลหะ ยาง พลาสติก ยางพารา ผลิตภัณฑ์การแพทย์ และอุปกรณ์การแพทย์ที่ใช้แล้ว สารแคมีที่มีอันตรายสูง ที่มา : http://www2.moc.go.th/ewt_dl_link.php?nid=7029 , http://aec.ditp.go.th/
มาตรการการค้าที่มิใช่ภาษี (Non Tariff Measures : NTMs) ประเทศเมียนมาร์ การออกใบอนุญาตการนำเข้า ซึ่งเป็นมาตรการจำกัดปริมาณนำเข้าหรือ (Quantitative Restriction : QC) สินค้าทุกชนิด ต้องขอหนังสืออนุญาตนำเข้า สินค้าอุปโภคบริโภค ห้ามนำเข้า 8 รายการจากไทย ได้แก่ สุรา เบียร์ บุหรี่ หมากฝรั่ง เค้ก เวเฟอร์ ชอกโกแลต และสินค้าควบคุมนำเข้าตามกฎหมายที่บังคับใช้อยู่แล้ว ที่มา : http://www2.moc.go.th/ewt_dl_link.php?nid=7029 http://aec.ditp.go.th/
มาตรการการค้าที่มิใช่ภาษี (Non Tariff Measures : NTMs) ประเทศมาเลเซีย มาตรการควบคุมการนำเข้า สินค้าข้าว ต้องนำเข้าผ่าน Padiberas National Berhad (BERNAS) และจะใช้มาตรการห้ามนำเข้าชั่วคราวในช่วงที่ผลผลิตในประเทศมาก การออกใบอนุญาตการนำเข้า ซึ่งเป็นมาตรการจำกัดปริมาณนำเข้าหรือ Quantitative Restriction : QC น้ำตาลทรายบริสุทธิ์ ปศุสัตว์มีชีวิต เนื้อสัตว์ เส้นหมี่ ผลไม้ เนื้อสัตว์ สัตว์ปีก ไข่และผลิตภัณฑ์ เหล็กแผ่นรีดร้อน ที่มา : http://www2.moc.go.th/ewt_dl_link.php?nid=7029 http://aec.ditp.go.th/
ประเทศมาเลเซีย (ต่อ) มาตรการด้านเทคนิคที่เป็นอุปสรรคทางการค้า (Technical Barriers to Trade : TBT) อาหาร อาหารฮาลาล เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ เครื่องสุขภัณฑ์และเซรามิก มาตรฐานด้านสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช (Sanitary and Phyto Sanitary : SPS) สินค้าประเภท ผลิตภัณฑ์ยา เวชภัณฑ์ อาหารเสริม ผลิตภัณฑ์พื้นบ้าน สินค้าต้องได้รับเครื่องหมาย Meditag TM สินค้าจำพวกผลไม้ เช่น มะม่วง ทุเรียน ลำไย ต้องได้รับ Import Licenses จาก Food Safety and Quality Control Division, Ministry of Health โดยมีกาตรวจสารพิษ
มาตรการการค้าที่มิใช่ภาษี (Non Tariff Measures : NTMs) ประเทศฟิลิปปินส์ มาตรการควบคุมการนำเข้า สินค้าข้าว มีหน่วยงาน National Food Authority : NFA เป็นผู้ควบคุมการนำเข้าและได้ปรับให้เอกชนและสหกรณ์การเกษตรนำเข้ามากขึ้น ฟิลิปปินส์ตะเปิดนำเข้าข้าวเสรีในปี 58 เมื่อเข้าสู่ AEC จะต้องลดอัตรานำเข้าเหลือ 35% สินค้าจำพวก ยา และเคมีภัณฑ์ ต้องได้รับการตรวจสอบเพื่อขอ Certification of Product จาก Bureau of Food and Drug ก่อน และต้องมีเภสัชกรประจำสำนักงานผู้นำเข้า แม้จะไม่มีการจำหน่วยทำให้ค่าใช้จ่ายสูง มาตรฐานด้านสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช (Sanitary and Phyto Sanitary : SPS) ไก่สด แช่แข็ง เนื้อวัดสด แช่แข็ง เนื้อสุกรและผลิตภัณฑ์ ต้องผ่านการตรวจโรงงานและได้รับอนุญาต เนื้อสัตว์ (วัว หมู ไก่ ม้า) สด แช่แข็ง แช่เย็น ไขมันสัตว์ ไข่ และพืชGMO ต้องได้รับหนังสือรับรองอนามัยจากประเทศผู้ส่งออก และตรวจสอบอีกครั้ง ณ ด่านนำเข้าฟิลิปปินส์ และต้องได้รับอนุญาตนำเข้า อาหารมนุษย์ และสัตว์ การนำเข้าผลิตภัณฑ์GMO ต้องแจ้งรายละเอียด ที่มา : http://www2.moc.go.th/ewt_dl_link.php?nid=7029 http://aec.ditp.go.th/
ประเทศฟิลิปปินส์ (ต่อ) มาตรการด้านเทคนิคที่เป็นอุปสรรคทางการค้า (Technical Barriers to Trade : TBT) อุปกรณ์ทางการแพทย์ ต้องมีใยตรวจสอบคุณภาพสินค้า เครื่องปรับอากาศ มาตรฐานสินค้ากำหนดโดย Minimum Efficiency Standard เกี่ยวกับการใช้พลังงานและควบคุมการนำเข้า โดยต้องได้รับอนุญาตนำเข้าและมาตรฐานสินค้าจากสำนักงานมาตรฐานสินค้าเพื่อคุ้มครองผู้บริโภคและตลาดในประเทศ มาตรการห้ามนำเข้า สัตว์ปีก เคยใช้มาตรการห้ามนำเข้าผลิตภัณฑ์สัตว์ปีกจากไทยในปี 2547 แม้ว่าจะยกเลิกในปี 2555 แต่สินค้าสัตว์ปีกของไทยยังนำเข้าไม่ได้เนื่องจากกระทรวงเกษตรฟิลิปปินส์ไม่ออกหนังสืออนุญาตเพื่อรับรองสินค้าสัตว์ปีกจากไทย ผักและผลไม้ ห้ามนำเข้าผักผลไม้จากประเทศเขตร้อน เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดโรคแมลงและโรคพืชที่ติดมากับผลไม้ ผลไม้ไทยที่นำเข้าได้มีเฉพาะมะขามหวานและลองกอง ทั้งนี้ ผลไม้ไทย เช่น ลำไย ลิ้นจี่ อาจถูกส่งไปยัง ไต้หวัน จีน ก่อน แล้วจึงนำเข้าไปยังฟิลิปปินส์
มาตรการการค้าที่มิใช่ภาษี (Non Tariff Measures : NTMs) ประเทศเวียดนาม มาตรการห้ามนำเข้า ห้ามนำเข้าสินค้า เพื่อความมั่นคงของชาติ ปกป้องและรักษาสิ่งแวดล้อมและสุขอนามัย เช่น อาวุธยุทโธปกรณ์ ระเบิด ยาเสพติด รถยนต์ขับเคลื่อนพวกมาลัยซ้าย อะไหล่ที่ใช้แล้วของรถยนต์ บุหรี่ สินค้าอุปโภคบริโภคที่ใช้แล้ว เป็นต้น มาตรการจำกัดการนำเข้า และการนำเข้าภายใต้เงื่อนไข มีกลุ่มสินค้าในหมวดควบคุมลักษณะพิเศษ โดยการนำเข้าสินค้าในกลุ่มนี้จะต้องอยู่ภายใต้การควบคุมโดยผู้นำเข้าต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขที่กำหนดสินค้าดังกล่าว เหตุผลเพื่อการจัดการอุปสงค์และอุปทาน เช่น กระเบื้องปูพื้นเซรามิก หนังสือพิมพ์ น้ำมันพืชกลั่น น้ำตาล รถจักรยานยนต์ เป็นต้น การออกใบอนุญาตการนำเข้า ซึ่งเป็นมาตรการจำกัดปริมาณนำเข้าหรือ (Quantitative Restriction : QC) อาหารและเกษตร ได้ขยายรายการสินค้านำเข้าที่อยู่ภายใต้การขออนุญาตแบบอัตโนมัติมากขึ้น และให้ยื่นคำร้องและแจ้งตอบทางไปรษณีย์เท่านั้น สินค้าอุปโภคบริโภค บางรายการต้องขออนุญาตนำเข้าโดยอัตโนมัติ ที่มา : http://www2.moc.go.th/ewt_dl_link.php?nid=7029 http://aec.ditp.go.th/
ประเทศเวียดนาม (ต่อ) มาตรการด้านเทคนิคที่เป็นอุปสรรคทางการค้า (Technical Barriers to Trade : TBT) สินค้าประเภท ยา เวชภัณฑ์ รวมถึงยาฆ่าแมลงและสินค้าเคมีภัณฑ์ ต่างๆ ต้องติดฉลากที่มีภาษาเวียดนามบอกถึงรายละเอียดของสินค้าและวิธีการใช้ มาตรฐานด้านสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช (Sanitary and Phyto Sanitary : SPS) สินค้าอาหาร สัตว์ พืช และพืชที่นำมาใช้เป็นอาหารสัตว์ ต้องมาตรฐานระหว่างประเทศมาตรฐาน CODEX, OIE และ ASEAN เป็นมาตรฐานกลางสำหรับสุขอนามัยกำหนดให้การนำเข้าต้องมี Health Certificate แสดงว่าปราศจากโรค หรือแหล่งของโรคปากเท้าเปื่อย สัตว์น้ำ กำหนดให้การนำเข้าต้องมี Health Certificate ผลไม้แบะผัก พืชและส่วนของพืช กำหนดให้การนำเข้าต้องมี Health Certificate จากหน่วยงานของผู้ส่งออก โดยเฉพาะผักและผลไม้ต้องระบุว่ามาจากแหล่งที่ปราศจากแมลงวันทอง การบรรจุพืชในบรรจุภัณฑ์ต้องได้รับการรับรองว่าปราศจากโรคและแมลง อาหารแปรรูป และสินค้าอาหาร ต้องมีผลวิเคราะห์จากทาง LAB และผลิตด้วยกระบวนการมาตรฐานสากล GMP/HACCP นมผง และนมข้นหวาน มีการเฝ้าระวังเนื่องด้วยมีวัตถุประสงค์เพื่ออนามัยอาหารและมาตรฐานความปลอดภัย
มาตรการการค้าที่มิใช่ภาษี (Non Tariff Measures : NTMs) ประเทศสิงคโปร์ มาตรฐานด้านสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช (Sanitary and Phyto Sanitary : SPS) สุกรและสัตว์ปีกสด แปรรูป ต้องได้รับการตรวจสอบและอนุญาตจาก Agri-Food &Veterinary Authority (AVA) ของสิงคโปร์ กรณีสุกรต้องได้รับการรับรองว่าปลอดภัยจากโรคปากเท้าเปื่อย และได้รับการรับรองจากองค์กรโรคระบาดสัตว์โลก (OIE) อีกด้วย ปัจจับนไทยยังไม่สามารถส่งออกเนื้อสุกรสดไปได้ การออกใบอนุญาตการนำเข้า ซึ่งเป็นมาตรการจำกัดปริมาณนำเข้าหรือ (Quantitative Restriction : QC) ไก่และเป็ด ผลิตภัณฑ์ไก่และเป็ดจากฟาร์มที่มีการตรวจสอบและรับรองจาก AVA เท่านั้น ถึงสามารถนำเข้าได้ มาตรการด้านเทคนิคที่เป็นอุปสรรคทางการค้า (Technical Barriers to Trade : TBT) เครื่องใช้ไฟฟ้า ต้องผ่านการตรวจสอบและได้รับมาตรฐานความปลอดภัยก่อนวางจำหน่าย โทรศัพท์ ต้องผ่านการตรวจสอบและได้รับใบรับรองมาตรฐานก่อนวางจำหน่าย ที่มา : http://www2.moc.go.th/ewt_dl_link.php?nid=7029 http://aec.ditp.go.th/
มาตรการการค้าที่มิใช่ภาษี (Non Tariff Measures : NTMs) ประเทศไทย มาตรการห้ามนำเข้า ห้ามนำเข้ารถจักรยานยนต์ที่ใช้แล้วและชิ้นส่วน ห้ามนำเข้าสินค้าที่ละเมิดลิขสิทธิ์ของผู้อื่น ห้ามนำเข้าสินค้าที่มีเครื่องหมายการค้าปลอมหรือเลียนแบบเครื่องหมายการค้าของผู้อื่น การออกใบอนุญาตการนำเข้า ซึ่งเป็นมาตรการจำกัดปริมาณนำเข้าหรือ Quantitative Restriction : QC กำหนดให้ผู้นำเข้าต้องขอใบอนุญาตนำเข้าสินค้าวัตถุดิบ ปิโตรเลียม สิ่งทอ เคมีภัณฑ์ ยา และสินค้าเกษตร จำกัดปริมาณการนำเข้าสินค้าเกษตรบางชนิด เช่น ถั่วเหลือง ข้าวโพด ข้าว และเก็บค่าธรมมเนียมการนำเข้าสินค้าประเภทเนื้อวัว สารกาเฟอีน ต้องยื่นคำร้องขออนุญาตนำเข้าพร้อมหนังสือแจ้งข้อมูลนำเข้าจากสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา หรือกรมโรงงานอุตสาหกรรม และบัญชีราคาสินค้า สารโพรแทสเซียมแมงกาเนต ผู้นำเข้าต้องขึ้นทะเบียนขอนำเข้ากับกรมการค้าต่างประเทศตามที่กรรมการการค้ากำหนด ทองคำ ต้องได้รับอนุญาตจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ด้านการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ ยังปรากฏการให้สิทธิพิเศษที่เหนือกว่าแก่ผู้ประกอบการภายในประเทศ ที่มา : http://www.thaifta.com/ThaiFTA สำนักอาเซียน/กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ http://www.dft.go.th/สินค้าที่มีมาตรการนำเข้า-ส่งออก
นโยบายเปิดเสรีภาคบริการ ของประเทศอาเซียน
กรอบความตกลงว่าด้วยการค้าบริการของอาเซียน (ASEAN Framework Agreement on Service –AFAS) กำหนดให้ประเทศสมาชิกอาเซียนทยอยเปิดตลาดบริการ ซึ่งตาม AEC Blueprint กำหนดให้ประเทศสมาชิกอาเซียนเปิดตลาดให้ประเทศสมาชิกอาเซียนอื่น สามารถถือหุ้นได้ถึงร้อยละ 70 ยกเว้นสาขาที่อ่อนไหว ปัจจุบัน นักลงทุนอาเซียนถือหุ้นได้ร้อยละ 70 ในสาขา e-ASEAN (ICT) สาขาสุขภาพ สาขาท่องเที่ยว และสาขาการบิน ซึ่งทั้ง 4 สาขาถือเป็นสาขาบริการเร่งรัด (Priority Integration Sector: PIS) อนึ่ง นักลงทุนอาเซียนครอบคลุมถึงนักลงทุนนอกภาคีอาเซียนที่มีการลงทุนและทำธุรกิจจริงอยู่ในอาเซียน (Non Party)
อาเซียนเริ่มเจรจาลดข้อจำกัดด้านการค้าบริการระหว่างกันมาตั้งแต่ปี 2538 โดยดำเนินการเจรจามาเป็นรอบๆ และจัดทำข้อผูกพันการเปิดตลาดมาแล้วทั้งสิ้นรวม 8 ชุด ซึ่งในแต่ละชุดจะมีการปรับปรุงข้อผูกพันโดยลด/เลิกข้อจำกัดต่างๆ เพื่อให้การค้าบริการเป็นไปอย่างเสรีมากขึ้น และมีการพัฒนาระบบการยอมรับร่วมกัน เพื่ออำนวยความสะดวกในการประกอบวิชาชีพในสาขาบริการ โดยข้อผูกพันชุดที่ 8 กำหนดให้นักลงทุนอาเซียนมีสิทธิถือหุ้นในนิติบุคคลได้ไม่เกินร้อยละ 70 ในธุรกิจบริการที่เป็นสาขาเร่งรัดคือ e-ASEAN (สาขาคอมพิวเตอร์และโทรคมนาคม) สาขาสุขภาพ สาขาท่องเที่ยว และสาขาขนส่งทางอากาศ ส่วนสาขาอื่นๆ ให้นักลงทุนอาเซียนมีสิทธิถือหุ้นในนิติบุคคลได้ถึงร้อยละ 51 ได้แก่ บริการด้านธุรกิจ การก่อสร้าง การจัดจำหน่าย การศึกษา สิ่งแวดล้อม นันทนาการ วัฒนาธรรมและกีฬา ขนส่ง และอื่นๆ สำหรับสาขาการเงิน ยังไม่เปิดเสรีให้ต่างชาติถือหุ้นข้างมาก ยกเว้นสาขาหลักทรัพย์
จำนวนสาขาที่แต่ละเปิดเสรี (สาขา) ข้อผูกพันการเปิดตลาดบริการสาขาการค้าปลีกของอาเซียน ภายใต้กรอบความตกลงว่าด้วยบริการของอาเซียน (AFAS) ชุดที่ 8 สาขาบริการ ไทย บรูไน กัมพูชา อินโดนีเซีย ลาว มาเลเชีย พม่า ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ เวียดนาม 1 บริการด้านธุรกิจ (Business Services) 2 บริการด้านการสื่อสาร (Communications Services) 3 บริการก่อสร้างและวิศวกรรมที่เกี่ยวเนื่อง (Construction and Related Engineering Services) 4 บริการจัดจำหน่าย (Distribution Services) 5 บริการด้านการศึกษา (Educational Services) X 6 บริการด้านสิ่งแวดล้อม (Environmental Services) 7 บริการด้านการเงิน (Financial Services) 8 บริการด้านสุขภาพและบริการทางสังคม (Health related and social Services) 9 บริการด้านการท่องเที่ยวและบริการที่เกี่ยวข้อง (Tourism and Travel related Services) 10 บริการด้านนันทนาการ วัฒนธรรม และการกีฬา (Recreational Cultural and Sporting Services) 11 บริการด้านการขนส่ง (Transport Services) 12 บริการอื่นๆ จำนวนสาขาที่แต่ละเปิดเสรี (สาขา)
การจัดตั้งธุรกิจ (Mode 3: Commercial Presence) ในแต่ละสาขาบริการของประเทศไทย สาขาบริการ ไทย 1 บริการด้านธุรกิจ (Business Services) 1) บริษัทให้บริการ ต่างประเทศถือหุ้นได้ไม่เกินร้อยละ 49 ของทุนจดทะเบียน จำนวนผู้ถือหุ้นต่างชาติต้องน้อยกว่าครึ่งหนึ่งของจำนวนหุ้นส่วนทั้งหมดของบริษัท 1.1) บริการวิชาชีพ ได้แก่ กฎหมาย บัญชี สถาปัตยกรรม วิศวกรรม 1.2) บริการด้านคอมพิวเตอร์และที่เกี่ยวข้อง 1.3) บริการด้านการวิจัยและพัฒนา 1.4) บริการด้านอสังหาริมทรัพย์ 1.5) บริการให้เช่า/เช่าซื้อ โดยไม่ต้องดำเนินการ 1.6) บริการด้านธุรกิจอื่นๆ 2) บริษัทที่ปรึกษาบริการด้านต่างๆ ต่างประเทศถือหุ้นได้ไม่เกินร้อยละ 51 ของทุนจดทะเบียน และต้องดำเนินการด้วยการร่วมทุนกับบริษัทนิติบุคคลของไทย ยกเว้นที่ปรึกษาด้านวิศวกรรมต่างประเทศสามารถถือหุ้นได้ไม่เกินร้อยละ 70 ของทุนจดทะเบียน 2.1) บริการวิชาชีพ ได้แก่ กฎหมาย บัญชี สถาปัตยกรรม วิศวกรรม 2.2) บริการด้านคอมพิวเตอร์และที่เกี่ยวข้อง 2.3) บริการด้านการวิจัยและพัฒนา 2.4) บริการด้านอสังหาริมทรัพย์ 2.5) บริการให้เช่า/เช่าซื้อ โดยไม่ต้องดำเนินการ 2.6) บริการด้านธุรกิจอื่นๆ
การจัดตั้งธุรกิจ (Mode 3: Commercial Presence) ในแต่ละสาขาบริการของประเทศไทย สาขาบริการ ไทย 2 บริการด้านการสื่อสาร (Communications Services) 2.1 Fixed-line voice telephone services ต่างประเทศถือหุ้นได้ไม่เกินร้อยละ 49 ของทุนจดทะเบียน จำนวนผู้ถือหุ้นต่างชาติต้องน้อยกว่าครึ่งหนึ่งของจำนวนหุ้นส่วนทั้งหมดของบริษัท 2.2 Mobile telephone services 2.3 Paging services 2.4 Telecommunications terminal equipment leasing services 2.5 Motion picture and video tape production and distribution services 2.6 Telegraph services ต่างประเทศถือหุ้นได้ไม่เกินร้อยละ 70 ของทุนจดทะเบียน และต้องดำเนินการด้วยการร่วมทุนกับบริษัทนิติบุคคลของไทย 2.7 Facsimile services 2.8 Telex services 2.9 Electronic mail 2.10 Voice mail 2.11 Data base access services ต้องเป็นบริษัทจดทะเบียนของไทย ต่างชาติสามารถร่วมถือหุ้นได้ไม่เกินร้อยละ 25 ของทุนจดทะเบียน ต้องใช้เครือข่ายที่ดำเนินการโดยผู้ได้รับใบอนุญาตอย่างถูกต้อง 2.12 On-line information and data base retrieval 2.13 On-line information and/or data processing services provided over public telecommunications network 3 บริการก่อสร้างและวิศวกรรมที่เกี่ยวเนื่อง (Construction and Related Engineering Services)
การจัดตั้งธุรกิจ (Mode 3: Commercial Presence) ในแต่ละสาขาบริการของประเทศไทย สาขาบริการ ไทย 4 บริการจัดจำหน่าย (Distribution Services) 4.1 Commission agents' services ต่างประเทศถือหุ้นได้ไม่เกินร้อยละ 49 ของทุน จดทะเบียน จำนวนผู้ถือหุ้นต่างชาติต้องน้อยกว่าครึ่งหนึ่งของจำนวนหุ้นส่วนทั้งหมดของบริษัท 4.2 Wholesale trade services of sports goods 4.3 Wholesale trade services, on a fee or contract basis, of medical goods ต่างประเทศถือหุ้นได้ไม่เกินร้อยละ 70 ของทุนจดทะเบียน และต้องดำเนินการด้วยการร่วมทุนกับบริษัท นิติบุคคลของไทย 4.4 Retailing services by Foreign service supplier established in Thailand of the products manufactured in Thailand under its own brand 5 บริการด้านการศึกษา (Educational Services) 5.1 Primary education services 5.2 Secondary education services 5.3 Post-secondary technical and vocational education services 5.4 Higher education services: Science and technology faculty ต่างประเทศถือหุ้นได้ไม่เกินร้อยละ 70 ของทุน จดทะเบียน และต้องดำเนินการด้วยการร่วมทุนกับ บริษัท นิติบุคคลของไทย 6 บริการด้านสิ่งแวดล้อม (Environmental Services) 6.1 Sewage Services 6.2 Refuse Disposal Services 6.3 Hazardous waste treatment and disposal services ต่างประเทศถือหุ้นได้ไม่เกินร้อยละ 70 ของทุน จดทะเบียน และต้องดำเนินการด้วยการร่วมทุนกับ บริษัท นิติบุคคลของไทย
การจัดตั้งธุรกิจ (Mode 3: Commercial Presence) ในแต่ละสาขาบริการของประเทศไทย สาขาบริการ ไทย 7 บริการด้านการเงิน (Financial Services) n.a. 8 บริการด้านสุขภาพและบริการทางสังคม (Health related and social Services) 8.1 Medical and dental services ต่างประเทศถือหุ้นได้ไม่เกินร้อยละ 49 ของทุนจดทะเบียน จำนวนผู้ถือหุ้นต่างชาติต้องน้อยกว่าครึ่งหนึ่งของจำนวนหุ้นส่วนทั้งหมดของบริษัท และต้องเป็นคลินิกในโรงพยาบาลเท่านั้น บุคคลที่ได้รับอนุญาตจะสามารถปฏิบัติงานได้เพียงหนึ่งโรงพยาบาลเท่านั้น 8.2 Dental Services จำนวนผู้ถือหุ้นต่างชาติต้องน้อยกว่าครึ่งหนึ่งของจำนวนหุ้นส่วนทั้งหมดของบริษัท และต้องเป็นแผนกทันตกรรมในโรงพยาบาลเท่านั้น บุคคลที่ได้รับอนุญาตจะสามารถปฏิบัติงานได้เพียงหนึ่งโรงพยาบาล 8.3 Veterinary services for pet animals จำนวนผู้ถือหุ้นต่างชาติต้องน้อยกว่าครึ่งหนึ่งของจำนวนหุ้นส่วนทั้งหมดของบริษัท บุคคลที่ได้รับอนุญาตจะสามารถปฏิบัติงานได้เพียงหนึ่งโรงพยาบาล 8.4 Hospital services จำนวนผู้ถือหุ้นต่างชาติต้องน้อยกว่าครึ่งหนึ่งของจำนวนหุ้นส่วนทั้งหมดของบริษัท
การจัดตั้งธุรกิจ (Mode 3: Commercial Presence) ในแต่ละสาขาบริการของประเทศไทย สาขาบริการ ไทย 9 บริการด้านการท่องเที่ยวและบริการที่เกี่ยวข้อง (Tourism and Travel related Services) 9.1 Hotel and Restaurants ต่างประเทศถือหุ้นได้ไม่เกินร้อยละ 49 ของทุนจดทะเบียน จำนวนผู้ถือหุ้นต่างชาติต้องน้อยกว่าครึ่งหนึ่งของจำนวนหุ้นส่วนทั้งหมดของบริษัท 9.2 Travel agency and tour operator services 9.3 Hotel management services ต่างประเทศถือหุ้นได้ไม่เกินร้อยละ 70 ของทุนจดทะเบียน และต้องดำเนินการด้วยการร่วมทุนกับบริษัทนิติบุคคลของไทย 10 บริการด้านนันทนาการ วัฒนธรรม และการกีฬา (Recreational Cultural and Sporting Services) 10.1 Entertainment Services: Theme parks and amusement parks 10.2 News agency services 10.3 Library services 10.4 Amusement park 11 บริการด้านการขนส่ง (Transport Services) 11.1 Passenger transportation 11.2 Freight transportation 11.3 International sea cruises ต่างประเทศถือหุ้นได้ไม่เกินร้อยละ 51 ของทุนจดทะเบียน และต้องดำเนินการด้วยการร่วมทุนกับบริษัทนิติบุคคลของไทย 12 บริการอื่นๆ Skill training services
การจัดตั้งธุรกิจ (Mode 3: Commercial Presence) ในแต่ละสาขาบริการของประเทศบรูไน สาขาบริการ บรูไน 1 บริการด้านธุรกิจ (Business Services) 1.1 บริการวิชาชีพสถาปัตยกรรม ประชากรชาวบรูไน ถือหุ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 1.2 Integrated Engineering Services ชาวต่างชาติสามารถถือหุ้นได้มากที่สุดร้อยละ 55 1.3 Urban planning and landscape architectural services ชาวต่างชาติสามารถถือหุ้นได้มากที่สุดร้อยละ 50 1.4 Database Services การจัดตั้งธุรกิจอนุญาตให้บริษัทจดทะเบียนในบูรไนเท่านั้น ชาวต่างชาติร่วมถือหุ้นได้ไม่เกินร้อยละ 51 1.5 Research and Development Services ชาวต่างชาติร่วมถือหุ้นได้ไม่เกินร้อยละ 51 1.6 Other Business Services 2 บริการด้านการสื่อสาร (Communications Services) 2.1 Courier Services 2.2 Packet- switched data transmission services ชาวต่างชาติร่วมถือหุ้นได้ไม่เกินร้อยละ 70 2.3 Paging services 3 บริการก่อสร้างและวิศวกรรมที่เกี่ยวเนื่อง (Construction and Related Engineering Services) Foreign Citizen registered สามารถร่วมถือหุ้นได้มากที่สุดร้อยละ 55 4 บริการจัดจำหน่าย (Distribution Services) n.a.
การจัดตั้งธุรกิจ (Mode 3: Commercial Presence) ในแต่ละสาขาบริการของประเทศบรูไน สาขาบริการ บรูไน 5 บริการด้านการศึกษา (Educational Services) 5.1 Primary Education For International School Only จัดตั้งธุรกิจผ่านการร่วมทุนกับบริษัทร่วมทุนต่างประเทศถือหุ้นได้ไม่เกิน 49% 5.2 Secondary Education For International School Only 5.3 Adult Education Services For Skill Centre Only 5.4 Foreign Language Training Centre 6 บริการด้านสิ่งแวดล้อม (Environmental Services) 6.1 Refuse Disposal Services จัดตั้งธุรกิจผ่านการร่วมทุนกับบริษัทร่วมทุนต่างประเทศถือหุ้นได้ไม่เกิน 51% 6.2 Other environmental services 7 บริการด้านการเงิน (Financial Services) 8 บริการด้านสุขภาพและบริการทางสังคม (Health related and social Services) 8.1 Medical and Dental Services ไม่มีข้อจำกัดในการจัดตั้งธุรกิจ (None) 8.2 Hospital services 8.3 Laboratory Services 8.4 Pharmaceutical services 9 บริการด้านการท่องเที่ยวและบริการที่เกี่ยวข้อง (Tourism and Travel related Services) 9.1 Hotel Lodging Services ต้องตั้งบริษัทโดยการร่วมทุนกับชาวบรูไนหรือบริษัทต้องอยู่ภายใต้การควบคุมของชางบรูไน ต่างชาติสามารถถือหุ้นได้ไม่เกินร้อยละ 70 9.2 Restaurants 9.3 Other Tourism Services (Youth Hostel, Golf Courses, Marina Facilities)
การจัดตั้งธุรกิจ (Mode 3: Commercial Presence) ในแต่ละสาขาบริการของประเทศบรูไน สาขาบริการ บรูไน 10 บริการด้านนันทนาการ วัฒนธรรม และการกีฬา (Recreational Cultural and Sporting Services) 10.1 Theme Parks ต้องตั้งบริษัทโดยการร่วมทุนกับชาวบรูไนหรือบริษัทต้องอยู่ภายใต้การควบคุมของชางบรูไน ต่างชาติสามารถถือหุ้นได้ไม่เกินร้อยละ 70 11 บริการด้านการขนส่ง (Transport Services) 11.1 Maritime Transport Services ชาวต่างชาติร่วมถือหุ้นได้ไม่เกินร้อยละ 51 11.1.1 Passenger transportation 11.1.2 Rental of Vessels with Crew 11.1.3 Maintenance and Repair of Vessels 11.1.4 Maritime Agency Services 11.2 Internal Waterways Transport Services 11.2.1 Passenger transportation 11.2.2 Maintenance and Repair of Vessels 11.2.3 Supporting Services for Internal Waterway Transport 11.3 Space Transport 11.4 Rail Transport Services 11.5 Services Auxiliary to All Modes of Transport
การจัดตั้งธุรกิจ (Mode 3: Commercial Presence) ในแต่ละสาขาบริการของประเทศกัมพูชา สาขาบริการ กัมพูชา 1 บริการด้านธุรกิจ (Business Services) 1.1 Accounting, auditing, bookkeeping ไม่มีข้อจำกัดในการจัดตั้งธุรกิจ (None) 1.2 Taxation services 1.3 Architectural services 1.4 Engineering services 2 บริการด้านการสื่อสาร (Communications Services) 2.1 Courier Services 2.2 Voice-mail 2.3 Paging services 3 บริการก่อสร้างและวิศวกรรมที่เกี่ยวเนื่อง (Construction and Related Engineering Services) 3.1 General Construction Work for Buildings 3.2 Installation and Assembly Work 4 บริการจัดจำหน่าย (Distribution Services) 4.1 Commission agents’ services 4.2 Wholesale trade services 4.3 Retailing services 5 บริการด้านการศึกษา (Educational Services) 5.1 Higher education services 5.2 Adult education 5.3 Other education services 6 บริการด้านสิ่งแวดล้อม (Environmental Services) 6.1 Sewage services 6.2 Refuse Disposal Services
การจัดตั้งธุรกิจ (Mode 3: Commercial Presence) ในแต่ละสาขาบริการของประเทศกัมพูชา สาขาบริการ กัมพูชา 7 บริการด้านการเงิน (Financial Services) n.a. 8 บริการด้านสุขภาพและบริการทางสังคม (Health related and social Services) 8.1 Specialised medical services การให้บริการที่ได้รับอนุญาตผ่านการร่วมทุนกับนิติบุคคลกัมพูชา 8.2 Hospital services Ownership and management of private hospitals and clinics only ไม่มีข้อจำกัดในการจัดตั้งธุรกิจ (None) เว้นแต่ว่าต้องมีผู้อำนวยการในด้านเทคนิคเป็นชาวกัมพูชาอย่างน้อย 1 คน must be Cambodian 9 บริการด้านการท่องเที่ยวและบริการที่เกี่ยวข้อง (Tourism and Travel related Services) 9.1 Hotels ไม่มีข้อจำกัดในการจัดตั้งธุรกิจ (None) 9.2 Travel agencies and tour operators services ต่างชาติถือหุ้นได้ไม่เกินร้อยละ 51 10 บริการด้านนันทนาการ วัฒนธรรม และการกีฬา (Recreational Cultural and Sporting Services) 10.1 Other entertainment services 10.2 Golf Course ไม่มีข้อจำกัดในการจัดตั้งธุรกิจ (None) ต่างชาติสามารถถือหุ้นได้ 100% 11 บริการด้านการขนส่ง (Transport Services) 11.1 Maritime Transport Services 11.2 Internal Waterways Transport 11.3 Road Transport Services
การจัดตั้งธุรกิจ (Mode 3: Commercial Presence) ในแต่ละสาขาบริการของประเทศอินโดนีเซีย สาขาบริการ อินโดนีเชีย 1 บริการด้านธุรกิจ (Business Services) 1.1 Accounting, Auditing and Bookkeeping Services ต่างชาติสามารถถือหุ้นได้ถึงร้อยละ 51 1.2 Interdisciplinary R&D 1.3 Advertising Services 2 บริการด้านการสื่อสาร (Communications Services) 2.1 Voice Telephone Services ต่างชาติสามารถถือหุ้นได้ถึงร้อยละ 49 2.2 Packet-switched data transmition services 2.3 Telex Services ต่างชาติสามารถถือหุ้นได้ถึงร้อยละ 70 3 บริการก่อสร้างและวิศวกรรมที่เกี่ยวเนื่อง (Construction and Related Engineering Services) 3.1 Construction Work for Buildings ต่างชาติสามารถถือหุ้นได้ถึงร้อยละ 55 3.2 Special Trade Construction 4 บริการจัดจำหน่าย (Distribution Services) 4.1 Wholesale Trade Services of food, beverages, and tobacco with minimum space above 5,000 meter square 4.2 Direct Selling 5 บริการด้านการศึกษา (Educational Services) 5.1 Secondary education services 5.2 Higher Education Services 5.3 Adult Education 6 บริการด้านสิ่งแวดล้อม (Environmental Services) 6.1 Sewage services 6.2 Refuse Disposal Services
การจัดตั้งธุรกิจ (Mode 3: Commercial Presence) ในแต่ละสาขาบริการของประเทศอินโดนีเซีย สาขาบริการ อินโดนีเชีย 7 บริการด้านการเงิน (Financial Services) n.a. 8 บริการด้านสุขภาพและบริการทางสังคม (Health related and social Services) 8.1 Clinic of specialised medical services ต่างชาติสามารถถือหุ้นได้ถึงร้อยละ 70 8.2 Clinic of specialised dental services 9 บริการด้านการท่องเที่ยวและบริการที่เกี่ยวข้อง (Tourism and Travel related Services) 9.1 Hotels In Eastern Part of Indonesia, Kalimantan, Bengkulu, Jambi, Sulawesi and East Nusa Tenggara (NTT), 100 % of capital share can be owned by foreign investor, however joint venture up to 70 % in all other areas 10 บริการด้านนันทนาการ วัฒนธรรม และการกีฬา (Recreational Cultural and Sporting Services) 10.1 Golf Courses and other facilities In eastern part of Indonesia, Kalimantan, Bengkulu, Jambi and Sulawesi and East Nusa Tenggara (NTT), Papua, Moluccas, Lampung, Riau, Bangka Belitung, 100 per cent of capital share can be owned by foreign investor.For other areas, joint venture with the maximum foreign equity participation is 51% 11 บริการด้านการขนส่ง (Transport Services) 11.1 Maritime Transport Services ต่างชาติสามารถถือหุ้นได้ถึงร้อยละ 60 11.2 FreightTransportation ต่างชาติสามารถถือหุ้นได้ถึงร้อยละ 51 11.3 Road Transport Services ต่างชาติสามารถถือหุ้นได้ถึงร้อยละ 49
การจัดตั้งธุรกิจ (Mode 3: Commercial Presence) ในแต่ละสาขาบริการของประเทศลาว สาขาบริการ ลาว 1 บริการด้านธุรกิจ (Business Services) 1.1 Technical testing and analysis services การจัดตั้งธุรกิจต้องเป็นการร่วมทุนเท่านั้น ต่างชาติถือหุ้นร้อยละ 51 1.2 Printing and Publishing การจัดตั้งธุรกิจต้องเป็นการร่วมทุนเท่านั้น ต่างชาติถือหุ้นต่ำสุดร้อยละ 49 2 บริการด้านการสื่อสาร (Communications Services) 2.1 Postal services ไม่มีการเปิดตลาด (Unbound) 2.2 Courier Services ไม่มีข้อจำกัดในการจัดตั้งธุรกิจ (None) 3 บริการก่อสร้างและวิศวกรรมที่เกี่ยวเนื่อง (Construction and Related Engineering Services) 3.1 Construction Work for Buildings ต้องเป็นการร่วมทุนกับนักลงทุนชาวลาวอย่างน้อย 1 คนหรือมากกว่า 3.2 Assembly and Erection of Prefabricated Constructions 4 บริการจัดจำหน่าย (Distribution Services) 4.1 Commission agents’ services ต้องเป็นการร่วมทุนกับนักลงทุนชาวลาว ต่างชาติร่วมทุนได้ไม่เกินร้อยละ 49 4.2 Wholesale trade services 5 บริการด้านการศึกษา (Educational Services) 5.1 Primary Education Services 5.2 Secondary education services 5.3 Higher Education Services 6 บริการด้านสิ่งแวดล้อม (Environmental Services) 6.1 Sewage services 6.2 Refuse Disposal Services
การจัดตั้งธุรกิจ (Mode 3: Commercial Presence) ในแต่ละสาขาบริการของประเทศลาว สาขาบริการ ลาว 7 บริการด้านการเงิน (Financial Services) n.a. 8 บริการด้านสุขภาพและบริการทางสังคม (Health related and social Services) 8.1 Medical and Dental services ต้องเป็นการร่วมทุนกับชาวลาว ต่างชาติร่วมทุนได้ไม่เกินร้อยละ 49 8.2 Private hospital services 9 บริการด้านการท่องเที่ยวและบริการที่เกี่ยวข้อง (Tourism and Travel related Services) 9.1 Hotel lodging services, with 3 stars or more ไม่มีข้อจำกัดในการจัดตั้งธุรกิจ (None) 10 บริการด้านนันทนาการ วัฒนธรรม และการกีฬา (Recreational Cultural and Sporting Services) n.a. 11 บริการด้านการขนส่ง (Transport Services) 11.1 Maritime Transport Services ต้องเป็นการร่วมทุนกับนักลงทุนชาวลาวอย่างน้อย 1 คนหรือมากกว่า 11.2 FreightTransportation 11.3 Road Transport Services
การจัดตั้งธุรกิจ (Mode 3: Commercial Presence) ในแต่ละสาขาบริการของประเทศมาเลเซีย สาขาบริการ มาเลเชีย 1 บริการด้านธุรกิจ (Business Services) 1.1 Computer and Related Services ไม่มีข้อจำกัดในการจัดตั้งธุรกิจ (None) 1.2 Research and Development Services ต่างชาติถือหุ้นได้ไม่เกินร้อยละ 70 2 บริการด้านการสื่อสาร (Communications Services) 2.1 Courier services ต่างชาติถือหุ้นได้ไม่เกินร้อยละ 51 2.2 Basic Telecommunications ต่างชาติถือหุ้นได้ถึงร้อยละ 70 3 บริการก่อสร้างและวิศวกรรมที่เกี่ยวเนื่อง (Construction and Related Engineering Services) 3.1 Construction Work for Buildings 3.2 Assembly and Erection of Prefabricated Constructions 4 บริการจัดจำหน่าย (Distribution Services) 4.1 Commission agents’ services 4.2 Wholesale, and Retail Trade Businesses 5 บริการด้านการศึกษา (Educational Services) 5.1 Primary Education Services จัดตั้งธุรกิจผ่านการร่วมทุนกับบริษัทร่วมทุนต่างประเทศถือหุ้นได้ไม่เกิน 51% 5.2 Technical and vocational secondary education services 6 บริการด้านสิ่งแวดล้อม (Environmental Services) 6.1 Sewage services 6.2 Refuse Disposal Services
การจัดตั้งธุรกิจ (Mode 3: Commercial Presence) ในแต่ละสาขาบริการของประเทศมาเลเซีย สาขาบริการ มาเลเชีย 7 บริการด้านการเงิน (Financial Services) n.a. 8 บริการด้านสุขภาพและบริการทางสังคม (Health related and social Services) 8.1 Dental Services ต่างชาติถือหุ้นได้ไม่เกินร้อยละ 70 8.2 Private hospital services 9 บริการด้านการท่องเที่ยวและบริการที่เกี่ยวข้อง (Tourism and Travel related Services) Hotel and restaurant services 10 บริการด้านนันทนาการ วัฒนธรรม และการกีฬา (Recreational Cultural and Sporting Services) Services provided by authors, composers, sculptors, entertainers and other individual artists ต่างชาติถือหุ้นได้ไม่เกินร้อยละ 51 11 บริการด้านการขนส่ง (Transport Services) 11.1 Maritime Transport Services 11.2 Road Transport Services
การจัดตั้งธุรกิจ (Mode 3: Commercial Presence) ในแต่ละสาขาบริการของประเทศเมียนมาร์ สาขาบริการ เมียนมาร์ 1 บริการด้านธุรกิจ (Business Services) 1.1 Engineering services 100 % การลงทุนต่างชาติ หรือ ร่วมทุนกับชาวเมียนมาร์ขั้นต่ำ 35% 1.2 Research and Development Services ไม่มีการเปิดตลาด (Unbound) 2 บริการด้านการสื่อสาร (Communications Services) 2.1 Postal Services 2.2 Telecommunication Services 3 บริการก่อสร้างและวิศวกรรมที่เกี่ยวเนื่อง (Construction and Related Engineering Services) 3.1 Construction Work for Buildings 3.2 Assembly and Erection of Prefabricated Constructions 4 บริการจัดจำหน่าย (Distribution Services) Commission Agent Services ร่วมทุนกับชาวเมียนมาร์ขั้นต่ำ 35% 5 บริการด้านการศึกษา (Educational Services) 5.1 Primary Education Services 5.2 Secondary education Services 5.3 Higher education services 6 บริการด้านสิ่งแวดล้อม (Environmental Services) Sewage services
การจัดตั้งธุรกิจ (Mode 3: Commercial Presence) ในแต่ละสาขาบริการของประเทศเมียนมาร์ สาขาบริการ เมียนมาร์ 7 บริการด้านการเงิน (Financial Services) n.a. 8 บริการด้านสุขภาพและบริการทางสังคม (Health related and social Services) 8.1 Medical and Dental Services ต่างชาติถือหุ้นได้ไม่เกินร้อยละ 51 8.2 Dental services 9 บริการด้านการท่องเที่ยวและบริการที่เกี่ยวข้อง (Tourism and Travel related Services) Hotel and Restaurant Services ไม่มีข้อจำกัดในการจัดตั้งธุรกิจ (None) ต่างชาติถือหุ้นขั้นต่ำ 35% มากที่สุด 100% 10 บริการด้านนันทนาการ วัฒนธรรม และการกีฬา (Recreational Cultural and Sporting Services) 10.1 Theme Parks Amusement Parks ไม่มีข้อจำกัดในการจัดตั้งธุรกิจ (None) 10.2 News Agency Services ไม่มีการเปิดตลาด (Unbound) 11 บริการด้านการขนส่ง (Transport Services) Maritime Transport Services 100 % การลงทุนต่างชาติ หรือ ร่วมทุนกับ ชาวเมียนมาร์ขั้นต่ำ 35%
การจัดตั้งธุรกิจ (Mode 3: Commercial Presence) ในแต่ละสาขาบริการของประเทศฟิลิปปินส์ สาขาบริการ ฟิลิปปินส์ 1 บริการด้านธุรกิจ (Business Services) 1.1 Bookkeeping services, except tax returns ต่างชาติถือหุ้นได้ถึงร้อยละ 51 1.2 Industrial Engineering 2 บริการด้านการสื่อสาร (Communications Services) 2.1 Postal Services ต่างชาติถือหุ้นได้ร้อยละ 40 2.2 Courier Services ไม่มีข้อจำกัดในการจัดตั้งธุรกิจ (None) 3 บริการก่อสร้างและวิศวกรรมที่เกี่ยวเนื่อง (Construction and Related Engineering Services) 3.1 General construction work for buildings 3.2 Installation and assembly work 4 บริการจัดจำหน่าย (Distribution Services) Wholesale trade services 5 บริการด้านการศึกษา (Educational Services) n.a. 6 บริการด้านสิ่งแวดล้อม (Environmental Services) Sewerage services
การจัดตั้งธุรกิจ (Mode 3: Commercial Presence) ในแต่ละสาขาบริการของประเทศฟิลิปปินส์ สาขาบริการ ฟิลิปปินส์ 7 บริการด้านการเงิน (Financial Services) n.a. 8 บริการด้านสุขภาพและบริการทางสังคม (Health related and social Services) 8.1 Hospital services ต่างชาติถือหุ้นได้ถึง 100% 8.2 Veterinary Services Other veterinary services- Specialised Hospital services for pets ต่างชาติถือหุ้นได้ถึง 70% 9 บริการด้านการท่องเที่ยวและบริการที่เกี่ยวข้อง (Tourism and Travel related Services) Hotel, resort, pension houses, tourist inns apartelles lodging services มีการกำหนดสัดส่วนการถือหุ้นของนักลงทุนต่างชาติ และผู้บริหารและพนักงานต้องเป็นชาวฟิลปินส์ 10 บริการด้านนันทนาการ วัฒนธรรม และการกีฬา (Recreational Cultural and Sporting Services) Entertainment services ต่างชาติถือหุ้นได้ถึงร้อยละ 51 11 บริการด้านการขนส่ง (Transport Services) Maritime Transport Services ไม่มีข้อจำกัดในการจัดตั้งธุรกิจ (None)
การจัดตั้งธุรกิจ (Mode 3: Commercial Presence) ในแต่ละสาขาบริการของประเทศสิงคโปร์ สาขาบริการ สิงคโปร์ 1 บริการด้านธุรกิจ (Business Services) 1.1 Taxation Services ไม่มีข้อจำกัดในการจัดตั้งธุรกิจ (None) 1.2 Landscape Architecture services 2 บริการด้านการสื่อสาร (Communications Services) Courier Services ไม่มีการเปิดตลาด (Unbound) 3 บริการก่อสร้างและวิศวกรรมที่เกี่ยวเนื่อง (Construction and Related Engineering Services) Construction Services 4 บริการจัดจำหน่าย (Distribution Services) Wholesale trade services 5 บริการด้านการศึกษา (Educational Services) Adult Education Services 6 บริการด้านสิ่งแวดล้อม (Environmental Services) Sanitation and similar services
การจัดตั้งธุรกิจ (Mode 3: Commercial Presence) ในแต่ละสาขาบริการของประเทศสิงคโปร์ สาขาบริการ สิงคโปร์ 7 บริการด้านการเงิน (Financial Services) n.a. 8 บริการด้านสุขภาพและบริการทางสังคม (Health related and social Services) 8.1 Dental Services ไม่มีข้อจำกัดในการจัดตั้งธุรกิจ (None) 8.2 Veterinary Services 9 บริการด้านการท่องเที่ยวและบริการที่เกี่ยวข้อง (Tourism and Travel related Services) 9.1 Hotel Lodging Services 9.2 Restaurant and Catering Services 10 บริการด้านนันทนาการ วัฒนธรรม และการกีฬา (Recreational Cultural and Sporting Services) 10.1 Entertainment services 10.2 Library Services 11 บริการด้านการขนส่ง (Transport Services) Road Transport Services
การจัดตั้งธุรกิจ (Mode 3: Commercial Presence) ในแต่ละสาขาบริการของประเทศเวียดนาม สาขาบริการ เวียดนาม 1 บริการด้านธุรกิจ (Business Services) 1.1 Accounting and auditing and bookkeeping services ไม่มีข้อจำกัดในการจัดตั้งธุรกิจ (None) 1.2 Architectural Services. 2 บริการด้านการสื่อสาร (Communications Services) 2.1 Courier Services 2.2 Sound recording ไม่มีการเปิดตลาด (Unbound) 3 บริการก่อสร้างและวิศวกรรมที่เกี่ยวเนื่อง (Construction and Related Engineering Services) 3.1 Pre-erection Work at Construction Site 3.2 Construction Work for Buildings 4 บริการจัดจำหน่าย (Distribution Services) 4.1 Commission agents' services 4.2 Wholesale trade services 5 บริการด้านการศึกษา (Educational Services) 5.1 Secondary education services 5.2 Higher education services
การจัดตั้งธุรกิจ (Mode 3: Commercial Presence) ในแต่ละสาขาบริการของประเทศเวียดนาม สาขาบริการ เวียดนาม 6 บริการด้านสิ่งแวดล้อม (Environmental Services) Sewerage services ไม่มีข้อจำกัดในการจัดตั้งธุรกิจ (None) 7 บริการด้านการเงิน (Financial Services) n.a. 8 บริการด้านสุขภาพและบริการทางสังคม (Health related and social Services) 8.1 Medical and Dental Services 8.2 Health related and social services Social services ไม่มีการเปิดตลาด (Unbound) 9 บริการด้านการท่องเที่ยวและบริการที่เกี่ยวข้อง (Tourism and Travel related Services) 9.1 Hotel Lodging Services 9.2 Food serving services 9.3 Beverage serving services for consumption on the premises 10 บริการด้านนันทนาการ วัฒนธรรม และการกีฬา (Recreational Cultural and Sporting Services) Entertainment services 11 บริการด้านการขนส่ง (Transport Services) Road Transport Services
กรอบความตกลงว่าด้วยการค้าบริการของอาเซียน (ASEAN Framework Agreement on Service –AFAS) สถานะล่าสุด มีการลงนามข้อมูลผูกพันชุดที่ 9 ภายใต้ความตกลงว่าด้วยการบริการของอาเซียน (ASEAN) ในเดือนสิงหาคม 2557 โดยในขณะนี้มีเพียงประเทศไทยเท่านั้นที่จัดทำข้อผูกพันชุดที่ 9 ภายใต้กรอบความตกลงว่าด้วยการค้าบริการของอาเซียน (AFAS) แล้วเสร็จ ซึ่งไทยได้ร่วมกับอาเซียนลงนามพิธีสารอนุวัติข้อผูกพันชุดที่ 9 ภายใต้กรอบความตกลงว่าด้วยการค้าบริการของอาเซียน (AFAS) ที่กรุงเนย์ปิดอร์ ไทย ได้ผูกพันเปิดตลาดเพิ่มเติม 101 สาขา มีสาขาบริการที่เปิดตลาดเพิ่มอีก 25 สาขาย่อย เช่น บริการให้คำปรึกษา บริการจัดทำบัญชี บริการเช่าเรือ บริการเรือสำราญระหว่างประเทศ บริการขนส่งสินค้าทางเรือ บริการช่วยเหลือกู้ภัยทางทะเล บริการเข้าวงจรสื่อสาร บริการข้อมูลออนไลน์บริการเก็บสินค้าและคลังสินค้า บริการรับจัดหาที่จอดรถ เป็นต้น
ตัวอย่าง ข้อผูกพันการเปิดตลาดบริการสาขาจัดจำหน่าย (เน้นดูที่ธุรกิจค้าส่งและค้าปลีก) ของอาเซียนภายใต้กรอบความตกลงว่าด้วยบริการของอาเซียน ชุดที่ 8 (For the 8th Package of Commitments under ASEAN Framework Agreement on Services)
บรูไน การลงทุน/จัดตั้งธุรกิจ ไม่ผูกพันมาตรการเกี่ยวกับการถือหุ้นของชาวต่างชาติหรือผลประโยชน์ของบริษัทที่จัดตั้ง หรือจะจัดตั้งในบรูไน (ยังไม่เปิดเสรีค้าส่งและค้าปลีก) การให้บริการโดยบุคคลธรรมดา ไม่ผูกพัน ยกเว้นเฉพาะผู้โอนย้ายภายในบริษัทข้ามชาติ (Intra-corporate-transferee : ICT) ระดับบริหารจัดการ และผู้เชี่ยวชาญเท่านั้น
กัมพูชา การลงทุน/จัดตั้งธุรกิจ ไม่มีข้อจำกัดการถือหุ้นของนักลงทุนต่างชาติ ภายใต้กฎหมายการลงทุน ผู้ที่ต้องการได้รับการส่งเสริมการลงทุน ต้องให้การอบรมพนักงานกัมพูชาอย่างสม่ำเสมอ และสนับสนุนให้ได้รับตำแหน่งผู้บริหารระดับสูง การให้บริการโดยบุคคลธรรมดา ไม่ผูกพัน ยกเว้นมาตรการในการเข้ามาของบุคคลบางประเภท
อินโดนีเซีย การลงทุน/จัดตั้งธุรกิจ การลงทุนควรอยู่ในรูปแบบของบริษัทร่วมลงทุน หรือสำนักงานตัวแทน การร่วมลงทุนควรเป็นรูปแบบ Limited Liability Enterprise และหุ้นต่างชาติไม่เกิน 49% - ธุรกิจค้าส่งให้ต่างชาติถือหุ้นได้ 51% และมีเงื่อนไข อื่นๆ การให้บริการโดยบุคคลธรรมดา ผูกพันเฉพาะผู้มีอำนาจสั่งการ ผู้จัดการ และผู้เชี่ยวชาญหรือที่ปรึกษาด้านเทคนิค
ลาว การลงทุน/จัดตั้งธุรกิจ การลงทุนอาจอยู่ในรูปแบบการร่วมลงทุน ดังนี้ บริษัทร่วมลงทุนร่วมกับนักลงทุนในประเทศลาว 1 คนหรือมากกว่า 1 คน (ต่างชาติถือหุ้นอย่างน้อย 30%) ต่างชาติเป็นเจ้าของทั้งหมด หรือสำนักงานตัวแทน - ธุรกิจค้าส่งให้ต่างชาติถือหุ้นได้ 49% การให้บริการโดยบุคคลธรรมดา ชาวต่างชาติที่เข้ามาทำงานในประเทศลาว จะอยู่ภายใต้กฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมการขายและการบริหารจัดการของการลงทุนในต่างประเทศ (ในลาว) วิสาหกิจต่างชาติมีสิทธิว่าจ้างบุคลากรต่างชาติ หากจำเป็น โดยต้องได้รับอนุญาตจากรัฐบาล
มาเลเซีย การลงทุน/จัดตั้งธุรกิจ ไม่มีข้อจำกัดการถือหุ้นของต่างชาติ แต่การเข้ามาครอบครอง ควบรวบกิจการ หรือได้รับผลประโยชน์ในธุรกิจมาเลเซีย บางกรณี ต้องได้รับอนุมัติ เช่น การมีสิทธิ์ออกเสียงในการซื้อกิจการของต่างชาติ รายใดเกิน 15% หรือรวมกันเกิน 30% หรือมีสินทรัพย์มูลค้าเกิน 5 ล้านริงกิต การให้บริการโดยบุคคลธรรมดา ไม่ผูกพัน ยกเว้นมาตรการในการเข้ามาของบุคคลบางประเภท
เมียนมาร์ การลงทุน/จัดตั้งธุรกิจ การลงทุนอยู่ในรูปแบบของการลงทุนจากต่างชาติ 100% หรือรูปแบบการร่วมลงทุนกับบุคลากรหรือองค์กรในเมียนมาร์ (ต่างชาติถือหุ้นอย่างน้อย 35%) ธุรกิจบริการจะถูกจำกัดตามมาตรา 3 ของกฎหมายรัฐวิสาหกิจเศรษฐกิจ การให้บริการโดยบุคคลธรรมดา องค์กรและแรงงานต่างชาติต้องมีวีซ่าธุรกิจ และต้องปฏิบัติตามเงื่อนไข
ฟิลิปปินส์ การลงทุน/จัดตั้งธุรกิจ กิจกรรมที่สงวนไว้ตามกฎหมาย ของพลเมืองของประเทศฟิลิปปินส์ การมีส่วนร่วมของชาวต่างชาติในกิจกรรมที่สงวนมีส่วนถือหุ้นน้อย และผู้บริหารจะต้องมีสัญชาติฟิลิปปินส์ พระราชบัญญัติการลงทุนของคนต่างด้าว ระบุรายการกิจกรรมสงวน (Negative List) สำหรับการลงทุนของคนต่างด้าว การให้บริการโดยบุคคลธรรมดา แรงงานต่างด้าวจะได้รับอนุญาตทำงานหากไม่มีคนของฟิลิปปินส์ที่มีความสามารถเพียงพอ และต้องการทำงานดังกล่าว
สิงคโปร์ การลงทุน/จัดตั้งธุรกิจ ไม่มีข้อจำกัดในการเข้าสู่ตลาดสำหรับการลงทุนของชาวต่างชาติ การให้บริการโดยบุคคลธรรมดา การเข้ามาของบุคคลธรรมดาไม่ผูกพัน ยกเว้น บริษัทข้ามชาติ (Intra-corporate-transferee : ICT) ระดับบริหารจัดการ และผู้เชี่ยวชาญเท่านั้น
เวียดนาม การลงทุน/จัดตั้งธุรกิจ ไม่มีข้อจำกัด ยกเว้นที่ระบุไว้ในข้อผูกพันเฉพาะในรายสาขา การลงทุนอาจอยู่ในรูปแบบสัญญาความร่วมมือทางธุรกิจ วิสาหกิจร่วมลงทุน และวิสาหกิจที่ต่างชาติลงทุนทั้งหมด 100% การให้บริการโดยบุคคลธรรมดา ไม่ผูกพัน ยกเว้นบริษัทข้ามชาติ (Intra-corporate-transferee : ICT) ระดับบริหารจัดการ และผู้เชี่ยวชาญเท่านั้น และผู้ให้บริการโดยมีสัญญาจ้าง (Contractual Service Suppliers: CSS)
ไทย การลงทุน/จัดตั้งธุรกิจ ผูกพันการจัดตั้งธุรกิจในรูปแบบบริษัทจำกัดที่จดทะเบียนในประเทศไทย หรือชนิดอื่นที่เป็นนิติบุคคลตามที่ระบุไว้ในข้อผูกพันเฉพาะ ธุรกิจค้าปลีกอนุญาตให้นักลงทุนต่างชาติที่มาลงทุนผลิตสินค้าและมีตราสินค้าเป็นของตนเองในประเทศไทยสามารถเปิดร้านค้าปลีกได้ โดยให้ถือหุ้นได้ไม่เกิน 70% ธุรกิจค้าส่ง ยังมีข้อจำกัดหรือเงื่อนไขการให้ต่างชาติถือหุ้น การให้บริการโดยบุคคลธรรมดา ไม่ผูกพัน ยกเว้นผู้เข้าร่วมธุรกิจ และบริษัทข้ามชาติ (Intra-corporate-transferee : ICT)
การอำนวยความสะดวกการค้าชายแดน การค้าผ่านแดน การอำนวยความสะดวกการค้าชายแดน การค้าผ่านแดน การค้าข้ามแดน เพื่อส่งเสริมด้านการค้าการลงทุน ลดขั้นตอนการตรวจสินค้า ให้ประเทศที่มีชายแดนติดกันตรวจสินค้าผ่านแดนร่วมกัน แก้ปัญหารถรับจ้างขนส่งสินค้าสาธารณะ 2 สัญชาติ ปรับปรุงและขยายด่านชายแดน เช่น ด่านชายแดนมาเลเซีย คือ ด่านสะเดา และด่านปาดังเบซาร์ เจรจาทวิภาคีในประเด็นการเดินรถกับกัมพูชา และเมียนมาร์ เร่งรัดการสร้างสะพานข้ามแม่น้ำเมย อ.แม่สอด จ. ตาก แห่งที่ 2 เปิดด่าน/จุดผ่อนปรนชายแดนเพื่อส่งเสริมการค้า เพิ่มเติม
ข้อเสนอแนะต่อภาครัฐ รัฐต้องปรับรูปแบบการให้ความรู้เกี่ยวกับ AEC แก่ผู้ประกอบการอย่างลึกซึ้ง อย่างชัดเจนทุกกลุ่มสินค้าและบริการ และให้ความรู้แบบครอบคลุมทั้งห่วงโซ่ของสินค้า/บริการ ชนิดนั้น ส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากกฎระเบียบการค้าต่างๆ ทั้งกฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้า (Rules of Origin: RO) รวมถึงมาตรการที่มิใช่ภาษี กฎหมายการคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา ศึกษาระบบการนำเข้าสินค้า เช่น มาตรฐานสินค้า ที่แต่ละประเทศใช้ โดยเฉพาะสินค้าเกษตรและอาหาร ปรับปรุงการอำนวยความสะดวกการค้าชายแดน การค้าผ่านแดน การค้าข้ามแดน เพื่อส่งเสริมด้านการค้าการลงทุน