การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเตรียมความพร้อมในการเสนอโครงการภายใต้แผนปฏิบัติการฯในระดับจังหวัด
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
หลักการจัดองค์การ เป้าหมาย.
การวิเคราะห์และประเมินค่างาน
สื่อการสอนโครงงานอาชีพ ระดับชั้นประถมศึกษาตอนปลาย จัดทำโดย ม
บทที่ 1 ลักษณะของระบบบัญชี
ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุชิน ปลีหะจินดา
การบริหารจัดการเพื่อ พัฒนาผลการปฏิบัติงาน
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
ข้อควรคำนึงในการสร้างเครือข่าย
หลักพื้นฐานในการวางแผนโดยงบประมาณ
รหัสวิชา กระบวนทัศน์ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และชุมชนในองค์กร
ระบบการบริหารการตลาด
CURADIO FEEDBACK SYSTEM TO PUBLIC
อาจารย์มณทิพา ทับทิมอ่อน
ซอฟต์แวร์.
การจัดการระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
PDCA คืออะไร P D C A.
สื่อการเรียนรู้ การตัดสินใจในการผลิต
การติดตามประเมินผล ความหมาย การวัดผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ของพนักงานช่วงเวลาใดเวลาหนึ่งโดยเปรียบเทียบผลการปฏิบัติงานกับมาตรฐานที่กำหนดไว้ วัตถุประสงค์
การติดตาม และประเมินโครงการ.
ได้กล่าวว่า ในระดับบุคคลข่าวสารที่ ได้จากระบบ ช่วยทั้งในแง่ ส่วนตัวและวิชาชีพ ในระดับองค์การ การจะมีส่วนช่วยองค์การให้มี ประสิทธิภาพจะมีผลกระทบต่อกล ยุทธ์และความสำเร็จขององค์การ.
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารงานขาย
บทที่ 3 การวางแผน การบริหารจัดการที่จะประสบความสำเร็จจะต้องมีหน้าที่สำคัญ 4 ประการ การจัดองค์การ การนำ การควบคุม.
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
นโยบายองค์การ Organisation Policy.
ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
การคำนวณต้นทุนผลผลิต
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสำนักงาน และการบริหารงานสำนักงาน
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
การบริหารความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง ความเสี่ยง (RISK)
การศึกษาความเป็นไปได้ (Problem Definition and Feasibility Study)
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
การบัญชีเพื่อการจัดการ (Managerial Accounting) BY MANATSADA
Self Assessment Self Assessment คือการประเมินตนเอง คือวิธีการที่จะทำให้องค์กรได้ทราบถึงสมรรถนะ จุดอ่อน จุดแข็งของตนเอง สามารถนำไปใช้ในการวางแผน ปรับปรุงองค์กรให้มีประสิทธิภาพ.
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน
มาตรฐานการควบคุมภายใน
กลุ่มที่ 1.
สถานประกอบการสร้างเสริมสุขภาพ
การบริหารและกระบวนการวางแผน
การวางแผนและควบคุมกำไรโดยงบประมาณ
การวิเคราะห์โครงการ (Project Appraisal)
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
วิชา หลักการตลาด บทที่ 10 การส่งเสริมการขายโดยใช้บุคคล
การติดตาม และการควบคุม (Monitoring and Control)
วิชาโครงการ 4 หน่วยกิต 2 ชั่วโมง
การวิจัยการบริหาร ทรัพยากรมนุษย์ ดร. สุจิตรา ธนานันท์
การจ่ายค่าตอบแทนให้กับพนักงานขาย
บทที่ 2 การจัดองค์กรขาย
บทที่ 10 การตลาดทางตรง ความหมายของการตลาดทางตรง Direct marketing is the use of consumer-direct channels to reach and delivery goods and services to customers.
บทบาทของข้อมูลการตลาด
หลักการเขียนโครงการ.
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
Planing : ระบบการวางแผนงบประมาณ
บทที่ 1 แนวความคิดทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการขาย
บทที่ 7 การพยากรณ์ยอดขาย.
การวัดการวิจัยในการตลาด
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
บทที่ 4 กลยุทธ์การค้าปลีก
7.Discussion การอภิปราย นายวัชรกร เดชะบุญ รหัสนิสิต
บทที่1 การบริหารการผลิต
บทที่ 1 บทบาทของการวิจัยตลาด
ปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
บทที่ 7 การควบคุมเชิงกลยุทธ์
วิชา หลักการตลาด บทที่ 5
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
วิธีการสอนโดยใช้เกม (Game)
1. ความหมายขององค์กรธุรกิจ องค์กรธุรกิจ หมายถึง กลุ่มคนซึ่งร่วมกันทำกิจกรรมทางธุรกิจเพื่อหวัง ผลตอบแทนเป็นกำไรและการลงทุน 2. ระบบสารสนเทศในเชิงธุรกิจ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน บทที่ 11 การประเมินผลและ การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน

ความหมายการประเมินผล การประเมินผลงาน(Evaluation) เป็นเครื่องมือที่สำคัญอีกเครื่องมือหนึ่งที่ช่วยให้ผู้บริหารการขายแน่ใจว่าแผนงานที่กำหนดไว้ถูกนำไปปฏิบัติอย่างแน่นอน นอกจากนี้การประเมินผลยังช่วยให้สามารถวิเคราะห์ว่าในระยะเวลาต่าง ๆ เกิดผลปฏิบัติอะไรบ้าง ความหมายการประเมินผล การประเมินผล หมายถึง การเปรียบเทียบผลการปฏิบัติที่เกิดขึ้นจริงกับมาตรฐานที่บริษัทกำหนดหรือคาดคะเนไว้ เพื่อหาความแตกต่าง และเหตุผลที่ทำให้เกิดความแตกต่างตลอดจนการหาทางแก้ไขหรือปรับปรุง

รูปแบบการประเมินผล 1) การวิเคราะห์ปริมาณขาย การประเมินผลการปฏิบัติงานขายจะต้องประเมินทั้งในภาพรวมของบริษัทและประเมินแยกเป็นรายบุคคลของพนักงานขาย ซึ่งแยกเป็นหัวข้อได้ดังนี้ 1) การวิเคราะห์ปริมาณขาย 2) การวิเคราะห์ต้นทุนและกำไรจากการดำเนินการขาย 2.1 ปัญหาในการวิเคราะห์ต้นทุนและกำไร 2.2 ประเภทของการวิเคราะห์ต้นทุนและกำไร 2.2.1 การวิเคราะห์โดยใช้ข้อมูลจากบัญชีแยกประเภท 2.2.2 การวิเคราะห์โดยใช้ข้อมูลที่แยกตามเขตการขาย หรือแยกตามสายผลิตภัณฑ์ 2.2.3 การวิเคราะห์โดยใช้ข้อมูลต้นทุนและกำไรที่กำหนดตามกิจกรรม

2.3 การวิเคราะห์สาเหตุที่ทำให้ต้นทุนการตลาดสูงและวิธีการแก้ไขต้นทุน 2.3.1 เกิดจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายทางการตลาดของบริษัท 2.3.2 เกิดจากการที่พนักงานขายให้ความสนใจกับกลุ่มลูกค้าขนาดเล็กมากไป 2.3.3 เกิดจากคำสั่งซื้อขนาดเล็กของลูกค้า 2.3.4 เกิดจากระบบการสื่อสารทางไกลที่ไม่สะดวกในการสั่งซื้อ 2.3.5 เกิดจากความหวังของผู้ซื้อที่จะได้รับประโยชน์จากสภาวะการแข่งขัน 3. การประเมินผลการปฏิบัติงานขายของพนักงานขายรายบุคคล

ขั้นตอนการประเมินผลการปฏิบัติงานขาย ของพนักงานขายรายบุคคล การประเมินผลการปฏิบัติงานขายของพนักงานขายรายบุคคล เป็นวิธีที่ต้องใช้ความระมัดระวังค่อนข้างสูงเพราะอาจมีผลต่อความรู้สึกของพนักงานขายได้ ดังนั้นผู้บริหารการขายต้องทำการประเมินผลการปฏิบัติผลการงานของพนักงานขายรายบุคคลอย่างมีขั้นตอนที่ชัดเจนแน่นอน

1. กำหนดนโยบายพื้นฐานของการประเมินผล 1.1 กำหนดวัตถุประสงค์ในการประเมินผลให้ชัดเจน 1.2 กำหนดผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน 1.3 กำหนดความถี่และระยะเวลาในการประเมินผล 2. กำหนดแหล่งข้อมูลและวิธีการประเมินผล 2.1 แหล่งข้อมูลและคุณภาพของข้อมูล 2.2 การกำหนดและเลือกวิธีการประเมินผล

ความหมายของการควบคุมและประเมินผล การปฏิบัติงานของพนักงาน การควบคุม หมายถึง การปฏิบัติเพื่อให้ระบบงานไปสู่ความสำเร็จตามแผนงานที่กำหนดไว้แล้ว การควบคุมเป็นภาระความรับผิดชอบของผู้บริหารการขายในการใช้มาตรการต่าง ๆ เป็นเครื่องมือในการบริหารพนักงานขายให้ปฏิบัติงานได้บรรลุเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ

วัตถุประสงค์ของการควบคุม เพื่อการอบรมการขาย เพื่อให้ความช่วยเหลือแก่พนักงานขาย เพื่อเป็นเครื่องมือในการบริหาร เพื่อเป็นการควบคุมโดยตรง เพื่อทำให้พนักงานขายมีขวัญกำลังใจดี เพื่อให้บริษัทแน่ใจว่ามีการปฏิบัติงานจริง

ปัจจัยในการพิจารณากำหนดขนาดของการควบคุมที่เหมาะสม ปัจจัยที่สำคัญในการกำหนดขนาดการควบคุมที่เหมาะสมคือ คุณภาพของพนักงานขาย ถ้าพนักงานขายที่รับเข้ามาทำงาน เป็นผู้ที่มีความรู้ความสามารถ มีประสบการณ์และมีความรับผิดชอบสูง ความจำเป็นในการควบคุมก็น้อยลง ส่วนพนักงานขายใหม่ที่ยังขาดประสบการณ์ก็ย่อมที่จะต้องได้รับการเอาใจใส่อย่างใกล้ชิด ผู้ควบคุมการขายต้องดูแลติดตามช่วยเหลือและกระตุ้นให้เกิดไฟในการทำงานอยู่อย่างสม่ำเสมอ

ในการพิจารณาจำนวนการควบคุมที่เหมาะสมนั้น ผู้บริหารการขายต้องพิจารณาในปัจจัยต่าง ๆ ดังนี้ ความสำคัญของงานการขายต่อความสำเร็จขององค์กร ลักษณะการกระจายและการรวมตัวของพนักงานขาย จำนวนของพนักงานขาย แผนการจ่ายค่าตอบแทนพนักงานขาย

เครื่องมือและเทคนิคการควบคุม การติดต่อแบบเป็นส่วนตัว การติดต่อทางจดหมายและโทรศัพท์ การประชุมการขาย สิ่งพิมพ์ เครื่องมือในการควบคุมโดยลักษณะการปฏิบัติงาน

การตัดสินใจปฏิบัติ หลังจากที่มีการเปรียบเทียบผลงานจริงของพนักงานขายกับมาตรฐานการปฏิบัติงานแล้ว ถ้าไม่มีผลต่างใด ๆ เลย คือผลงานของพนักงานขายเป็นไปตามมาตรฐานที่บริษัทกำหนดก็จะไม่มีการแก้ไขปรับปรุงอะไร แต่ถ้าไม่เป็นไปตามดังกล่าวข้างต้น ผู้บริหารอาจต้องเลือกทางเลือกใดทางเลือกหนึ่ง ดังนี้ ปรับปรุงการปฏิบัติงานที่เป็นอยู่ให้เข้ากับมาตรฐาน ปรับปรุงนโยบาย หรือแผนงานให้เหมาะสมกับวัตถุประสงค์ ปรับปรุงวัตถุประสงค์หรือมาตรฐาน

จบบทที่ 11