การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย ทศพล สมพงษ์ ผู้เชี่ยวชาญด้านวิชาการ
คิดได้ เขียนได้ ทำได้
ตอบคำถามตัวเอง 1. ทำไมจึงต้องทำเรื่องนี้? เกิดอะไรขึ้น? ปรากฏการณ์นี้น่าสนใจตรงไหน? อยากรู้อะไร? สิ่งที่อยากรู้มีความสำคัญอย่างไร? 2. เมื่ออยากรู้ (ให้ลึกซึ้งในปรากฏการณ์นี้) จะมีวิธีการหาความจริงได้อย่างไร? มีอะไรต้องศึกษาบ้าง? จะหาหลักฐานได้อย่างไร? จะพิสูจน์ความจริงได้อย่างไร? ความสำคัญของปัญหา วิธีการศึกษา
Concept Paper แนวคิดการวิจัย Research Proposal ข้อเสนอโครงการวิจัย
ประเด็นปัญหาการวิจัย ทดสอบ/พิสูจน์สมมติฐาน เครื่องมือรวบรวมข้อมูล ปรากฏการณ์ แนวคิดทฤษฎี ประเด็นปัญหาการวิจัย ความอยากรู้ สมมติฐาน วิธีวิจัย วิธีหาหลักฐาน ทดสอบ/พิสูจน์สมมติฐาน ตัวแปรที่ศึกษา เครื่องมือรวบรวมข้อมูล สรุปลงความเห็น (คำตอบ)
การเขียนข้อเสนอวิจัยที่ดีและการทำวิจัยที่ดี ไม่ใช่ เพียงการเขียนข้อเสนอที่ดีเท่านั้น ซึ่งการเขียนข้อเสนอ วิจัยที่ดี มุ่งเน้นสำนวนโวหาร จนทำให้เชื่อว่าเป็น ข้อเสนอวิจัยที่ดี แต่การเขียนข้อเสนอวิจัยที่ดี มีจุดกำเนิดหรือมี พื้นฐานมาจากความคิดที่ดี สื่อสารออกมาในรูปที่ เรียกว่า “แนวคิดในการวิจัย” (Concept Paper)
การพิสูจน์หาความจริง (Verification) ศาล กล่าวหา รวบรวมแสดงหลักฐาน พิสูจน์/แก้ต่าง/อ้างข้อกฎหมาย การวิจัย ตั้งสมมติฐาน เก็บข้อมูล วิเคราะห์/ยืนยัน/หักล้างทฤษฎี ตัดสิน ลงความเห็น สรุปผล