พีระมิด.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
จัดทำโดย นางวรวรรณ ชะโลธาร
Advertisements

นางสาวนภัสญาณ์ ไก่งาม
งานนำเสนอวิชาคณิตศาสตร์ บทพิสูจน์ทางคณิตศาสตร์
เรื่อง น้ำหนัก, แสง-เงา โดย สุภา จารุภูมิ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
รูปเรขาคณิต แบ่งเป็น 2 ประเภท รูปเรขาคณิตสองมิติ รูปเรขาคณิตสามมิติ
สื่อการเรียนเรขาคณิต
ชื่อสมบัติของการเท่ากัน
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สื่อการเรียนการสอนสาระคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
รูปทรงและปริมาตร จัดทำโดย นางสาวเพ็ญประภา กฤษฎาเรืองศรี ตำแหน่ง อาจารย์ 1 ระดับ 3 โรงเรียนวัดธาตุทอง สำนักงานเขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร.
พื้นที่ผิวและปริมาตร
ขอต้อนรับเข้าสู่ สาระที่ 3 เรขาคณิต. ขอต้อนรับเข้าสู่ สาระที่ 3 เรขาคณิต.
ครูโรงเรียนฝางวิทยายน
ความเท่ากันทุกประการ
อสมการ เสถียร วิเชียรสาร ขอบคุณ.
จำนวนจริง F M B N ขอบคุณ เสถียร วิเชียรสาร.
บทที่ 6 การเขียนภาพสามมิติ ภาพอ็อบลีก
Points, Lines and Planes
บทที่ 1 อัตราส่วน.
บทที่ 3 ร้อยละ ร้อยละ หรือ เปอร์เซ็นต์ หมายถึง เศษส่วนหรืออัตราส่วนที่มีจำนวนหลังเป็น 100 เขียนแทนร้อยละ หรือเปอร์เซ็นต์ ด้วยสัญลักษณ์ %
ค่าสุดขีดและจุดอานม้า Extreme Values and Saddle Points
เส้นตรงและระนาบในสามมิติ (Lines and Planes in Space)
จงหาค่าอินทิกรัลสามชั้นของ.
Basic Graphics by uddee
1 บทที่ 7 สมบัติของสสาร. 2 ตัวอย่าง ความยาวด้านของลูกบาศก์อลูมิเนียม มีค่าเท่าใด เมื่อน้ำหนักอลูมิเนียมมีค่าเท่ากับ น้ำหนักของทอง กำหนดความหนาแน่น อลูมิเนียม.
Chapter 5 การประยุกต์ของ อินทิกรัล Applications of Integrals.
Application of Graph Theory
Tangram.
ระบบอนุภาค.
กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ โรงเรียนบ้านหนองกุง อำเภอนาเชือก
หลักเกณฑ์การอ่านแผนที่
รูปเรขาคณิต สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓
เศษส่วน.
พื้นที่และปริมาตร พีระมิด คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค33101
รวมสูตรเกี่ยวกับพื้นที่ พื้นที่ผิว และปริมาตร
นายเชิดศักดิ์ ตั้นภูมี (คบ. จุฬาฯ กศ.ม. มศว.)
รวมสูตรพื้นที่ผิว และปริมาตร
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
ระบบเลขฐานต่าง ๆ By ครูนภาพร.
การสร้างแบบเสื้อและแขน
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
วงรี ( Ellipse).
ปริมาตรพีระมิด ปริมาตรพีระมิด = 1/3 เท่าของปริมาตรปริซีม
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
ปริมาตรทรงกระบอก ปริมาตรทรงกระบอก  r h
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส เรื่อง ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
ทฤษฎีบทปีทาโกรัส.
พื้นที่ผิวและปริมาตรพีระมิด
แบบฝึกหัด จงหาคำตอบที่ดีที่สุด หรือหาค่ากำไรสูงสุด จาก
หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 เส้นขนาน เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
พื้นที่ผิว และปริมาตร
รูปทรงเรขาคณิต จัดทำโดย เด็กชายสุวพิชญ์ สินธุแปง ชั้น ม. 1/4 เลขที่ 14
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
2.ทฤษฎีบทพิทาโกรัส(เขียนในรูปพื้นที่ของสี่เหลี่ยมจัตุรัส)
พื้นที่ผิวและปริมาตรทรงกลม
"" การพิจารณาองค์ประกอบในการถ่ายรูป "" หลักพื้นฐานในการพิจารณาองค์ประกอบในการออกแบบก่อน องค์ประกอบในการออกแบบ.
พื้นที่ผิวและปริมาตรกรวย
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ปริมาตรกรวย ปริมาตรกรวย = ของทรงกระบอก ปริมาตรกรวย =  สูง.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ทรงกลม.
การนำทฤษฎีพีทาโกรัสไปใช้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 เส้นขนาน เรื่อง เส้นขนานและการนำไปใช้
ปริมาตรทรงสามมิติ  พื้นที่ฐาน  สูง.
บทกลับของทฤษฎีพิทาโกรัส
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
ใบสำเนางานนำเสนอ:

พีระมิด

ลักษณะของพีระมิด หน้าตัดหรือฐาน ยอด สูงเอียง ส่วนสูง สัน ด้านข้าง

พีระมิด รูปเหลี่ยมใดๆ มียอดแหลมที่ไม่อยู่บน เป็นรูปเรขาคณิตสามมิติที่มีฐานเป็น รูปเหลี่ยมใดๆ มียอดแหลมที่ไม่อยู่บน ระนาบเดียวกันกับฐานและหน้าทุกหน้า เป็นรูปสามเหลี่ยมที่มีจุดยอดร่วมกันที่ ยอดแหลมนั้น

เรียกพีระมิดตามลักษณะของฐาน พีระมิดฐานห้าเหลี่ยม พีระมิดฐานสามเหลี่ยม พีระมิดฐานหกเหลี่ยม

พื้นที่ผิวพีระมิด = พื้นที่ฐาน + พื้นที่ผิวข้าง พื้นที่ผิวพีระมิด = พื้นที่ฐาน + พื้นที่ผิวข้าง พื้นที่ผิวข้าง = 1/2  ฐานสูงเอียง ด้านข้าง ฐาน ด้านข้าง

พื้นที่ผิวพีระมิดเป็นรูปเหลี่ยมด้านเท่า = พื้นที่ฐาน + 1/2ความยาวเส้นรอบฐานสูงเอียง สูงเอียงด้านยาว สูงเอียงด้านกว้าง

พื้นที่ผิวพีระมิดเป็นรูปเหลี่ยมด้านไม่เท่า = พื้นที่ฐาน+จำนวนพื้นที่ด้านกว้าง+จำนวนพื้นที่ ด้านยาว สูงเอียงด้านกว้าง สูงเอียงด้านยาว

ดังนั้น ความสูงพีระมิดเท่ากับ 4 ซม. ตัวอย่างที่ 1 จงหาความสูงของพีระมิดฐานสี่เหลี่ยม จัตุรัสยาวด้านละ 6 ซม. สูงเอียง 5 ซม. วิธีทำ ดังนั้น ความสูงพีระมิดเท่ากับ 4 ซม. 5 3 a 6

ตัวอย่างที่ 2 จงหาพื้นที่ผิวพีระมิดฐานสี่เหลี่ยม จัตุรัสยาวด้านละ 6 ซม ตัวอย่างที่ 2 จงหาพื้นที่ผิวพีระมิดฐานสี่เหลี่ยม จัตุรัสยาวด้านละ 6 ซม. สูงเอียง 5 ซม. วิธีทำ พื้นที่ผิวพีระมิด  พื้นที่ฐาน+พื้นที่ผิวข้าง  ด้านด้าน+1/2ความยาวเส้นรอบฐานสูงเอียง  66+1/24(6)5  36+60  96 ตารางซม.

ตัวอย่างที่ 3 พีระมิดสี่เหลี่ยมผืนผ้ากว้าง 10 ซม. ยาว 32 ซม ตัวอย่างที่ 3 พีระมิดสี่เหลี่ยมผืนผ้ากว้าง 10 ซม. ยาว 32 ซม.ถ้าพีระมิดสูง 12 ซม. จะมีพื้นที่ผิวข้างเท่าไร วิธีทำ

พื้นที่ผิวข้างด้านกว้าง 1/2กว้างสูงเอียงด้านกว้าง 1/21020  100 ตารางซม. พื้นที่ผิวข้างด้านยาว  1/2ยาวสูงเอียงด้านยาว  1/23213  208 ตารางซม. พื้นที่ผิวพีระมิด  2100 + 2208  608 ตารางซม.

แบบฝึกหัด 1. จงหาความสูงของพีระมิดฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัส ซึ่งมีด้านยาวด้านละ 12 ซม. สูงเอียง 10 ซม.

2. พีระมิดสี่เหลี่ยมสามเหลี่ยม. ด้านเท่ามีด้านยาวด้านละ 24 ซม 2. พีระมิดสี่เหลี่ยมสามเหลี่ยม ด้านเท่ามีด้านยาวด้านละ 24 ซม. สันยาว 13 ซม. จงหาสูงเอียง

3. จงหาพื้นที่ผิวพีระมิดสามเหลี่ยม ด้านเท่า ยาวด้านละ 12 ซม 3. จงหาพื้นที่ผิวพีระมิดสามเหลี่ยม ด้านเท่า ยาวด้านละ 12 ซม. สูงเอียง 13 ซม

4. พีระมิดสี่เหลี่ยมจัตุรัส ยาว 14 ซม. สันยาว 25 ซม. มีพื้นที่ผิวข้างเท่าไร