การประกันคุณภาพ ระดับสถาบันอุดมศึกษา. สมาชิก นพ. พิสิษฐ์ พิริยาพรรณ (ผู้จัดการ) อ. สุภัทรา โกไศยกานนท์ (รองผู้จัดการ) ผศ. ดร. สุรสิทธิ์ วชิรขจร (รองผู้จัดการ)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การประเมินผลสถานศึกษา
Advertisements

ระบบประกันคุณภาพคณะวิทยาศาสตร์
การกำหนดปัญหา และความต้องการ (Problem Definition and Requirements)
การบริหารจัดการเพื่อ พัฒนาผลการปฏิบัติงาน
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
ตัวบ่งชี้คุณภาพ สำนักงานอธิการบดี
แนวทางการรายงานผลการ ดำเนินการ ตั้วบ่งชี้ที่ สกอ
ผลการประเมินคุณภาพด้วยวาจา
โครงการการเพิ่มประสิทธิภาพ การจัดการข่าวสาร ในสถานการณ์วิกฤติ ฉุกเฉิน และเร่งด่วน โดยกลุ่ม...โบ X 2.
การพัฒนาระบบสารสนเทศ และฐานข้อมูลด้านการวิจัย
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 5
33701 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 1
การจัดการกระบวนการภายในเพื่อโครงการทดลองจ่ายค่าตอบแทนตาม ผลการปฏิบัติงาน โรงพยาบาลพาน.
หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผล การปฏิบัติราชการข้าราชการและ พนักงานราชการกรมควบคุมโรคประจำปีงบประมาณ 2557.
วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อปรับปรุงคุณภาพการให้บริการและสร้างความ พึงพอใจแก่ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกกลุ่ม ๒. เพื่อให้หน่วยให้ความสำคัญกับการวัดความพึงพอใจ.
แนวทางการปฏิบัติงานด้านประกันคุณภาพการศึกษา
แนวทางการรับรอง มาตรฐาน การประเมินภายนอก ระดับอุดมศึกษา อนุมงคล ศิริเวทิน อนุมงคล ศิริเวทิน.
นโยบายการประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยพายัพ
ข้อคิดเห็นผู้ประเมินภายนอก ระดับอุดมศึกษาต่อ มาตรฐานของสมศ
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การติดตาม และประเมินโครงการ.
แบบฟอร์มยืนยัน แผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
การจัดทำแผนการประกันคุณภาพการศึกษา
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
การจัดสวัสดิการ ของสหกรณ์
จากนโยบาย... สู่การปฏิบัติ
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)
การเสนอกระบวนงานบริการเพื่อขอรับการประเมิน
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
ขั้นตอนที่ 5 การนำเสนอแฟ้มผลงาน (Portfolio)
ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ โครงการ การบริหารงบประมาณตามแผนปฏิบัติการ วัตถุประสงค์ เพื่อให้หน่วยงานทุกหน่วยงานใช้เงินงบประมาณ ทันเวลา.
ผศ.ดร.กัลยาณี คูณมี ทีมที่ปรึกษาสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement)
1. ชื่อสถาบัน ให้ระบุชื่อ สถาบันการศึกษา คณะวิชา และภาควิชาที่เปิดสอน หลักสูตร 2. ชื่อหลักสูตร ให้ระบุชื่อ หลักสูตรและสาขาวิชาให้ ชัดเจน แบบรายงานข้อมูลการ.
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
ศาสตราจารย์ ดร.วิจิตร ศรีสอ้าน
การนำเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินงานที่เป็นเลิศไปพัฒนาองค์กร
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ ของการประกันคุณภาพการศึกษา
การมีส่วนร่วมของประชาชนในการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม
ประโยชน์ต่อส่วนราชการ
แนวปฏิบัติในการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา
การสร้างข้อสอบ ตามแนวการวัดใน PISA
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การบรรยายความรู้เรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา
การจัดการความรู้ ศูนย์นิติวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)
รูปแบบการจัดทำข้อมูล กองทัพบก รูปแบบการจัดทำข้อมูล กรมชลประทาน 1. การชี้แจงกำลังพลก่อน ปฏิบัติงาน 1. การชี้แจงแบ่งงาน / ผู้รับผิดชอบก่อนปฏิบัติงาน 2. การทำความเข้าใจกับ.
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินคุณภาพภายนอก รอบสาม (พ.ศ.๒๕๕๔-๒๕๕๘)
งานกิจการนิสิต
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
การสอนโดยใช้บทเรียนโปรแกรม
ผลงานวิจัยประเภทพัฒนาสถาบัน
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
หน่วยที่ 3 การจัดทำรายงานการประเมิน
รายละเอียดของระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
พฤติกรรมผู้ซื้อองค์การ
นโยบายและแนวคิด โรงพยาบาลคุณธรรม.
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประกันคุณภาพ ระดับสถาบันอุดมศึกษา

สมาชิก นพ. พิสิษฐ์ พิริยาพรรณ (ผู้จัดการ) อ. สุภัทรา โกไศยกานนท์ (รองผู้จัดการ) ผศ. ดร. สุรสิทธิ์ วชิรขจร (รองผู้จัดการ) ดร. ปกรณ์ วัฒนจตุรพร (เลขานุการ) ผศ. ดร. วนิดา นพพรพันธุ์ ผศ. ดวงฤดี ศุภดิมัสโร ผศ. วงศ์วีระ วรรณพงศ์ ผศ. ดิเรกฤกธิ์ บัวเวช

ปัญหา : เชิงนโยบาย ลักษณะพื้นฐานของแต่ละหน่วยงานไม่เหมือนกัน มาตรฐานที่แตกต่างระหว่างสถาบันที่ถูกประเมิน ความเหมาะสมของตัวชี้วัด – ตัวชี้วัดไม่ได้ บ่งชี้จริงตามจุดประสงค์ – ตัวชี้วัด / เกณฑ์ตัวชี้วัด มีการปรับเปลี่ยนบ่อย และ แจ้งหน่วยผู้รับการประเมินล่าช้า – ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ ไม่สมควรมาตรวจสอบเชิง คุณภาพ

ปัญหา : เชิงนโยบาย การให้ความสำคัญการประเมินของสาธารณชน – การ Ranking – ผลกระทบต่อสังคม

ปัญหา : เชิงปฏิบัติ มาตรฐานที่แตกต่างผู้ประเมิน – การไม่ยอมรับผลของการตรวจการประเมิน บุคลากร – ความรู้ ความเข้าใจของบุคลากรในสถาบัน ฯ – ไม่เต็มใจที่จะทำ – งานที่เพิ่มขึ้น / ซ้ำซ้อน

ข้อเสนอแนะ : เชิงนโยบาย : หน่วยงานที่ทำการประเมิน การเผยแพร่ผลการประเมินการประกันคุณภาพ – ประชาสัมพันธ์ให้กับสื่อมวลชนและสาธารณชน – ชี้แจงรายละเอียดของการประเมิน – เข้าใจจุดประสงค์ที่แท้จริงของการประเมิน

ตั้งหน่วยงานกลางประเมินตัวชี้วัดที่เป็นสาธารณะ ความพึงพอใจของสาธารณะ บุคลากรในสถาบันการศึกษาของเยอรมันมี Self Quality Assurance

ให้ความสำคัญของคุณภาพบัณฑิตมากกว่า การจัดการ ( งบประมาณ ) มาตรฐาน ๑ มากกว่า มาตรฐาน ๗

ข้อเสนอแนะ : เชิงปฏิบัติ : กรณีมาตรฐานที่แตกต่าง มีการกำหนดตัวบ่งชี้ – ส่วนหนึ่งกำหนดโดยหน่วยงานประเมิน – ส่วนหนึ่งกำหนดโดยผู้ถูกประเมินโดยให้ผู้มี ส่วนได้ส่วนเสียเข้าร่วมแสดงความคิดเห็นด้วย ให้มีการชี้แจงทางวาจาประกอบการอุทธรณ์ เลือกผู้ประเมินที่มีความรู้ตรง / ใกล้เคียงกับ หน่วยที่ถูกประเมิน

ข้อเสนอแนะ : เชิงปฏิบัติ : บุคลากร : สถาบัน ฯ ผู้บริหารสูงสุดต้องให้ความสำคัญกับการประกันคุณภาพ สร้างแรงจูงใจเชิงบวกให้แก่บุคลากร – เช่น ประเมินผลการปฏิบัติงานประจำปีของแต่ละบุคคลจาก รายงานการประเมินคุณภาพของแต่ละบุคคล

ข้อเสนอแนะ : เชิงปฏิบัติ : บุคลากร : สถาบัน ฯ มีโครงสร้างหลักเรื่องการประเมินคุณภาพ – มีผู้รับผิดชอบอย่างชัดเจน หน่วยงานเดียวทำเรื่องประกัน ฯ ของทุกหน่วยประเมิน บูรณาการการประกันคุณภาพทั้งสามหน่วยประเมิน เพื่อให้ทำงานง่ายขึ้น – ขึ้นตรงกับผู้บริหารสูงสุด

ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม การประเมินของหลายหน่วยงานควรลดจำนวนการตรวจ รายงานฉบับเดียวสามารถตอบสนองตัวชี้วัดทุก มาตรฐาน การใช้ระบบ IT – การเตรียมโปรแกรมจัดเก็บข้อมูลการประกันคุณภาพ – หน่วยประเมินเป็นผู้จัดเตรียม