กลุ่ม ๓ (สีเขียว) วิเคราะห์สภาพปัญหา อุปสรรค และ แนวทางในการพัฒนาพรรคการเมือง ได้เป็น” สถาบันทางการเมือง” ที่เข้มแข็ง
๓. จงวิเคราะห์สภาพปัญหา อุปสรรค และแนวทางในการพัฒนาพรรคการเมืองให้เป็น “สถาบันทางการเมือง” ที่เข้มแข็ง ตามประเด็นดังต่อไปนี้ ๓.๑ ท่านมีแนวทางในการปรับปรุงการปฏิบัติงานที่อยู่ใน อำนาจหน้าที่ของงานพรรคการเมืองอย่างไรบ้าง ๓.๒ ท่านสามารถสร้างงานใหม่ ๆ หรือนวัตกรรมใหม่ ๆ อย่างไรบ้าง ๓.๓ มีสิ่งใดที่คิดว่าต้องการให้ส่วนกลางสนับสนุนเพื่อให้ การปฏิบัติตามข้อ ๓.๑ และข้อ ๓.๒ ประสบ ความสำเร็จได้
วิเคราะห์สภาพปัญหา อุปสรรค และแนวทางในการพัฒนาพรรคการเมืองให้เป็น “สถาบันทางการเมือง” ที่เข้มแข็ง จุดแข็ง - ระเบียบ/กฎหมายต่างที่เกี่ยวข้องมีการรองรับในการทำงานของงานพรรคการเมือง ไว้แล้วสามารถทำงานได้อย่างถูกต้องเช่น พรป.ว่าด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. ๒๕๕๐ จุดอ่อน -การปฏิบัติงานของพนักงานในส่วนของพรรคการเมืองไม่เป็นไป ในแนวทางเดียวกัน ประชาชน/สมาชิกพรรค/เจ้าหน้าที่พรรค-สาขา ยังไม่มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการเมือง อย่างแท้จริง / การบริหารงานภายในพรรค/สาขาพรรคไม่เป็น ปีกแผ่น /พรรคไม่ได้ทำประโยชน์ ให้กับประชาชนโดยส่วนรวม / งบประมาณการสนับสนุนในการ บริหารพรรค-สาขาพรรคต่างๆ ไม่ทั่วถึงเพียงพอ /การบังคับใช้กฎหมายไม่เสมอภาคเป็นไป แนวทางเดียวกัน อุปสรรค / ภัยคุกคาม - จำนวนบุคลากร. / ผลประโยชน์ของพรรค / คุณธรรม
แนวทางปรับปรุง จุดแข็ง - ส่งเสริมกรอบแนวทางปฏิบัติให้ชัดเจน จุดอ่อน - กำหนดแนวทางในการพัฒนาในเรื่องนั้นๆ แก้ไขระเบียบข้อกฎหมาย โอกาส - เปิดโอกาสให้ภาครัฐ / ภาคเอกชน / ทุกภาคส่วนได้เข้ามาสนับสนุนในการดำเนิน กิจกรรมของพรรคการเมืองได้ และอยู่ภายใต้ระเบียบกฎหมายของ กกต.
- พัฒนา /เพิ่ม บุคลากร ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขี้น อุปสรรค / ภัยคุกคาม - พัฒนา /เพิ่ม บุคลากร ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขี้น - ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม มาตราการลงโทษให้ชัดเจน ๓.๑ แนวทางในการปรับปรุงการปฏิบัติงานที่อยู่ในอำนาจหน้าที่ของงานพรรคการเมือง อย่างไรบ้างให้ (อธิบายเป็นรูปธรรม) ๓.๑.๑ จัดทำคู่มือการปฏิบัติงานของพนักงานในส่วนของงานพรรคการเมืองให้ ชัดเจนโดยลงรายละเอียดในการปฏิบัติงานตั้งแต่ ๑มกราคมของทุกปีจนถึง ๑ มี.ค.ของปีถัดไป ๓.๑.๒ ให้ กกต.จว จัดทำเอกสารเผยแพร่สำหรับแจกจ่ายหรือใช้สื่อต่างๆในการ ประชาสัมพันธ์อีกส่วนหนึ่งซึ่งนอกเหนือจากที่ กกต.จัดทำเพราะเข้าใจสภาพพื้นที่ คน วิธีการที่เหมาะสม เช่น
ป้ายโปสเตอร์ติดบอร์ดประชาสัมพันธ์ในเรื่องต่างๆ /การเป็นสมาชิกพรรคการเมือง /การประชาสัมพันธ์ในเรื่องบัญชีค่าใช้จ่ายในการเลือกตั้ง /วิธีการปฏิบัติงานของสาขาพรรคการเมือง /ความสำคัญของสาขาพรรคการเมืองพรรคการเมือง /หน้าที่พรรคการเมือง /การมีส่วนร่วมในการตรวจสอบนักการเมืองและพรรคการเมือง อื่นๆ
๓. ๑. ๓ การนิเทศก์สาขาพรรคการเมือง ๓. ๑ ๓.๑.๓ การนิเทศก์สาขาพรรคการเมือง ๓.๑.๔ ใช้การประชาสัมพันธ์เชิงรุก เช่นการไปให้ความรู้ เกี่ยวกับพรรคการเมือง เกี่ยวกับกฎหมายต่างๆแก่ชุมชน ย่อยในพื้นที่
๓.๒ การสร้างงานและนวัตกรรมใหม่ แก่พรรคการเมือง ๓.๒ การสร้างงานและนวัตกรรมใหม่ แก่พรรคการเมือง ควรจัดทำวีดีทัศน์เกี่ยวกับการดำเนินกิจกรรมทางการเมือง เพื่อเป็นตัวอย่าง การดำเนินกิจกรรมให้กับสาขาพรรคการเมือง ๒ จัดทำคู่มือในการปฏิบัติงานด้านต่างๆทั้งของพนักงาน / เจ้าหน้าที่สาขา /ประชาชน เพื่อให้มีวามรู้และการเข้าใจที่ถูกต้อง ๓ จัดกิจกรรมประชาชนในการส่งเสริมการตรวจสอบการ ทำงานของนักการเมืองที่มีคุณธรรม ๔ จัดทำวีดีโอทัศน์เกี่ยวกับหน้าที่ สิทธิของสมาชิกพรรค การเมืองให้รู้และเข้าใจในหน้าที่ ที่แท้จริงเพื่อให้เป็นการกระตุ้นนักการเมืองให้ปฏิบัติอยู่ใน กรอบ
๓.๓ สิ่งที่ต้องการให้ ส่วนกลางสนับสนุน ๓.๓ สิ่งที่ต้องการให้ ส่วนกลางสนับสนุน สนับสนุนงบประมาณ สนับสนุนการจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ต่าง ๆ ที่เหมาะสม ระดมความคิดจากองค์ภายนอกทุกภาคส่วน เพื่อกำหนดแนวทางในการดำเนิน กิจกรรมพรรคการเมือง เพื่อให้พรรคการเมืองเป็นสถาบันทางการเมืองที่เข้มแข็ง เพิ่มอัตรากำลังให้มีความเหมาะสมกับงาน นำข้อเสนอแนะ ปัญหา อุปสรรค ที่ได้จากการประชุมทุกครั้งไปวิเคราะห์ และนำไป แก้ไข ปรับปรุง อย่างจริงจัง