การดำเนินงาน OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
อังคารที่ ๒๔ กรกฎาคม ๒๕๕๐ ณ โรงเรียนพุทธิวงศ์วิทยา วัดพระแก้ว
Advertisements

อมรรัตน์ พีระพล กลุ่มประกันสุขภาพ 3 ธ.ค.55
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชุมชน ปี ๒๕๕๗
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
ภารกิจที่ ๑ ๑.๑ การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรค
นโยบายและงานเร่งด่วนของกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
หลักเกณฑ์และแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการเพื่อเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ ในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา หลักเกณฑ์การประเมินและวิธีการประเมินผลการปฏิบัติ
ตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงาน คป.สอ.สตูล
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนากำลังคน (CHRO)
บทบาท อสม. ในการดำเนินการ“รวมพลัง อสม
แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๖ Service Plan บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ สุขภาพองค์รวม ทพ.อนุโรจน์ เล็กเจริญสุข ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ.
หน่วยบริการในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข เพื่อให้บริการสาธารณสุข
โครงการ : การพัฒนาและ ปรับปรุงการทำงานด้วย Challenge โดย สำนักงานพัฒนา ชุมชนอำเภอเด่นชัย.
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
องค์ประกอบ/กระบวนงานด้านการคุ้มครองเด็ก ในระดับจังหวัดสมุทรสาคร
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
กลุ่มที่ ๒ โรคติดต่อทางอาหารและน้ำ
ตัวชี้วัดและแนวทางการดำเนินงาน คุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในส่วนภูมิภาค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ โดย กองพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค.
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
การดำเนินงานกรมสุขภาพจิต
โรงพยาบาลสวนสราญรมย์
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
คณะที่ ๒ การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ชื่อตัวชี้วัด : ร้อยละของจังหวัดที่มี ศสม. ในเขตเมืองตามเกณฑ์ที่กำหนด ( ไม่น้อย กว่า ๗๐ )
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
รพสต. ความปลอดภัยผลิตภัณฑ์ พฤติกรรม การโฆษณา การบริโภค หลอกลวง
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
เอกสารประกอบการชี้แจง ปลัดกระทรวงสาธารณสุข(นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต)
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
สำนักประสานการพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4
แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายสำคัญของกระทรวงสาธารณสุข
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
หลักเกณฑ์และแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการ เพื่อเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ ในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา หลักเกณฑ์การประเมินและวิธีการประเมินผลการ.
การขับเคลื่อนการดำเนินงานสุขภาพจิตชุมชน
สำนักงาน กศน. สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
เป้าหมายการประชุม บูรณาการการนิเทศ ติดตาม ประเมินผลใน รพ.สต.
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
นโยบาย ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ของกระทรวงสาธารณสุข
ดำเนินงานอนามัยวัยทำงาน ปี 2555
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
ย.๔ พัฒนาระบบบริการสุขภาพวัยรุ่นในสถานบริการ
แนวทางในการประเมินความพร้อม เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานตามนโยบาย
เอกสารประกอบ การประชุมผู้บริหารกรมป่าไม้ วันอาทิตย์ที่ 2 พฤศจิกายน พ. ศ.2557 ณ จังหวัดตรัง จัดทำโดย สำนักแผนงานและสารสนเทศ กรม ป่าไม้ กรมป่า ไม้
แผนงานดูแลผู้สูงอายุ
จะเริ่มอย่างไร ? จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบสุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การกำหนดค่ากลางของความสำเร็จของโครงการสุขภาพระดับเขต เพื่อส่งมอบให้จังหวัดนำเข้าสู่กระบวนการ(1)
ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเขต ๑-๑๘
การส่งเสริมครอบครัวแข็งแรงเพื่อเป็นฐานของสังคมตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ปี 2557.
กรอบการบริหารงบบริการ การแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2558
ตัวชี้วัด ร้อยละของเทศบาลและองค์การบริหารส่วนตำบล ที่นำแผนชุมชนสู่การพัฒนาท้องถิ่นได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด.
นิยาม ศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ (Psychosocial Clinic) หน่วยบริการระดับโรงพยาบาลชุมชนที่มีการจัดบริการดูแล ช่วยเหลือทางสังคมจิตใจทุกกลุ่มวัย โดยมีองค์ประกอบ.
โครงการในปีงบประมาณ 2558.
กลุ่มงานยุทธศาสตร์การ พัฒนาชุมชน สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด พิษณุโลก
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ร้อยละของของเด็กตั้งแต่แรกเกิด - 6 เดือน แรกมีค่าเฉลี่ยกินนมแม่อย่างเดียวมากกว่า หรือเท่ากับ 60.
การประชุม คณะกรรมการพัฒนาระบบ ราชการ ของสำนักเลขาธิการ นายกรัฐมนตรี ครั้งที่ ๔ / ๒๕๕๑ วันอังคารที่ ๑๑ สิงหาคม ๒๕๕๒ เวลา ๑๐. ๐๐ น. ณ ห้องประชุมชั้น ๓ ตึก.
แผนงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุของพัทลุง
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
เสริมสร้างและพัฒนา บุคลากรกระทรวงสาธารณสุขทุกระดับ
การบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. ปี 2558
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2558
แนวทางการรายงาน ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ข้อเสนอแนะของผู้นิเทศ ข้อเสนอแนะในประเด็นสำคัญ เพิ่มเติม ดังนี้
นโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข 10 ข้อ
แนวทางการดำเนินการ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ประจำปี 2553.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
การดำเนินงาน OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การดำเนินงาน OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม ของกระทรวงสาธารณสุข สำนักบริหารการสาธารณสุข สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

กระบวนการทำงานของระบบ OSCC Application ของ กระทรวงสาธารณสุข ๑. สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ๑.๑ ผู้ดูแลระบบ (Admin) มีหน้าที่ - ปรับโครงสร้างหน่วยงานในสังกัด - ออกใหม่ /ลบออก ID และ Password - แก้ไข Password - แก้ไข ID และ Password - แก้ไข ข้อมูลผู้ใช้งาน - รับการแจ้งเตือน ระดับ 3 - การ Reset password - ดูรายงานได้ทั่วประเทศ กรณีตั้งครรภ์ไม่พร้อม (คุณแม่วัยใส) - ประกาศข่าวประชาสัมพันธ์ 1152

กระบวนการทำงานของระบบ OSCC Application ของ กระทรวงสาธารณสุข (ต่อ) สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ๑.๒ ผู้ใช้งาน (User) - แก้ไข ข้อมูลผู้ใช้งาน - รับการแจ้งเตือน ระดับ 3 - การ Reset password - ดูรายงานได้ทั่วประเทศ กรณีตั้งครรภ์ไม่พร้อม (คุณแม่วัยใส) 1152

กระบวนการทำงานของระบบ OSCC Application ของ กระทรวงสาธารณสุข (ต่อ) ๒. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ๒.๑ ผู้ดูแลระบบ (Admin) มีหน้าที่ - รับการแจ้งเตือน ระดับ ๒ - ดูรายงานได้ภายในจังหวัด กรณีตั้งครรภ์ ไม่พร้อม (คุณแม่วัยใส) - ประกาศข่าวประชาสัมพันธ์ ๒.๑ ผู้ใช้งาน (User) 1152

กระบวนการทำงานของระบบ OSCC Application ของ กระทรวงสาธารณสุข (ต่อ) ๓. โรงพยาบาล (รพศ/รพท./รพช.) ๓.๑ ผู้ดูแลระบบ (Admin) มีหน้าที่ - รับการแจ้งเตือน ระดับ ๑ - ดูรายงานได้ภายในโรงพยาบาล กรณีตั้งครรภ์ไม่พร้อม (คุณแม่วัยใส) - ประกาศข่าวประชาสัมพันธ์ ๓.๒ ผู้ใช้งาน (User) - ทำหน้าที่ Front Line 1 - ทำหน้าที่ Front Line 2 - ดูรายงานได้ในรายที่รับผิดชอบและลงข้อมูล กรณีตั้งครรภ์ไม่พร้อม (คุณแม่วัยใส) หมายเหตุ รพสต. ให้คำแนะนำและส่งต่อไปรับบริการตาม ๔ กลุ่มเป้าหมาย โดยไม่ต้องคีย์ข้อมูลเข้าระบบ 1152

1152 การจัดสรรงบประมาณประจำปี ๒๕๕๘ ผลผลิต : ประชาชนได้รับการดูแลสุขภาพและมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง กิจกรรม : การสร้างเสริมสุขภาพตามกลุ่มวัย - ค่าใช้จ่ายสำหรับสนับสนุนการดำเนินงานเพื่อพัฒนางานศูนย์พึ่งได้ 1152

1152 เกณฑ์การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจำปี ๒๕๕๘ การจัดสรรงบประมาณในปี ๒๕๕๘ มีการแบ่งการจัดสรรเป็น ๒ รอบ รอบแรกจัดสรรให้ประมาณร้อยละ ๕๐ ของงบประมาณทั้งหมด โดยกำหนดให้นำงบประมาณไปใช้ ในไตรมาสที่ ๑ (ต.ค. – ธ.ค.) และไตรมาสที่ ๒ (ม.ค. – มี.ค.) และดำเนินการเบิกจ่ายให้เสร็จสิ้นภายในวันที่ ๓๑ มีนาคม ๒๕๕๘ รอบสอง จัดสรรงบประมาณในส่วนที่เหลือ เพื่อการดำเนินงานในไตรมาสที่ ๓ และ ๔ (เม.ย. – ก.ย.) และควรดำเนินการให้เสร็จสิ้นภายในเดือนสิงหาคม ๕๕๘ 1152

1152 ๑. การจัดสรรงบประมาณให้สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ๗๖ จังหวัด ๑. การจัดสรรงบประมาณให้สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ๗๖ จังหวัด ๑.๑. การจัดสรรงบประมาณของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด - จัดสรรให้ทุกจังหวัดๆ ละ ๕๐,๐๐๐ บาท และจัดสรรเพิ่มเติมตามสัดส่วนของจำนวนโรงพยาบาลชุมชนและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล หมายเหตุ การจัดสรรรอบที่ ๑ ให้ แห่งละ ๔๐,๐๐๐ บาท รวมกับยอดที่จัดสรรให้ โรงพยาบาลชุมชน ส่วนที่เหลือจะจัดสรรในรอบต่อไป ๑.๒ การจัดสรรงบประมาณให้กับโรงพยาบาลชุมชน จำนวน ๗๗๓ แห่ง จัดสรรให้ทุกโรงพยาบาล ๆ ละ ๑๐,๐๐๐ บาท และจัดสรรเพิ่มเติมตามสัดส่วนของจำนวนผู้รับบริการจากระบบโปรแกรมรายงานเด็กและสตรีที่ถูกกระทำรุนแรง(ศูนย์พึ่งได้) ของปีงบประมาณ ๒๕๕๗ หมายเหตุ การจัดสรรรอบที่ ๑ ให้ แห่งละ ๕,๐๐๐ บาท จัดสรรผ่านสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ส่วนที่เหลือจะจัดสรรในรอบต่อไป 1152

1152 หมายเหตุ การจัดสรรรอบที่ ๑ ให้ ๕ จังหวัด ได้แก่จังหวัด ๑.๓ การจัดสรรงบประมาณเพื่อการจัดอบรมการให้การปรึกษาแบบฟื้นฟูอำนาจและเสริมศักยภาพให้กับบุคลากรศูนย์พึ่งได้ ใน ๑๐ จังหวัด ๆ ละ ๒๐๐,๐๐๐ บาท หมายเหตุ การจัดสรรรอบที่ ๑ ให้ ๕ จังหวัด ได้แก่จังหวัด 1. สงขลา 2. จังหวัดปทุมธานี 3. จังหวัดนครราชสีมา 4. จังหวัดขอนแก่น ๕. จังหวัดเชียงใหม่ โดยจัดสรรผ่านสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ส่วนที่เหลือ อีก ๕ จังหวัดจะจัดสรรในรอบต่อไป โดยสามารถขอรายละเอียดเพิ่มเติม ได้ที่สำนักบริหารการสาธารณสุข โทรศัพท์ 02 590 1741 1152

1152 ๒. การจัดสรรงบประมาณให้กับ รพศ./รพท. ๙๖ แห่ง ๒. การจัดสรรงบประมาณให้กับ รพศ./รพท. ๙๖ แห่ง ๒.๑ จัดสรรให้โรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลทั่วไป ทุกโรงพยาบาลๆ ละ ๒๐,๐๐๐ บาทและจัดสรรเพิ่มเติมตามสัดส่วนของจำนวนผู้รับบริการจากระบบโปรแกรมรายงานเด็กและสตรีที่ถูกกระทำรุนแรง(ศูนย์พึ่งได้) ของปีงบประมาณ หมายเหตุ การจัดสรรรอบที่ ๑ ให้ แห่งละ ๑๐๐,๐๐๐ บาท เพิ่มเติมตามสัดส่วนของจำนวนผู้รับบริการจากระบบโปรแกรมรายงานเด็กและสตรีที่ถูกกระทำรุนแรง(ศูนย์พึ่งได้) ปีงบประมาณ ๒๕๕๖ ส่วนที่เหลือจะจัดสรรในรอบต่อไป 1152

กิจกรรมดำเนินการ บริหารจัดการและขับเคลื่อนนโยบายการดำเนินงานศูนย์พึ่งได้ระดับจังหวัด (พัฒนาระบบรายงานข้อมูลการให้บริการศูนย์พึ่งได้,พัฒนาศักยภาพบุคลากรศูนย์พึ่งได้, การจัดประชุมคณะกรรมการศูนย์พึ่งได้ของจังหวัด ฯลฯ) ๒. พัฒนาระบบการรับแจ้งเหตุ การคัดกรอง การช่วยเหลือเบื้องต้น และการส่งต่อผู้ประสบปัญหา ๔ กลุ่มเป้าหมายหลัก ให้สอดคล้องกับแนวทางการปฏิบัติงาน ศูนย์ช่วยเหลือสังคมและบริบทของพื้นที่ เพื่อให้เกิดการเชื่อมต่อบริการที่ ชัดเจน และไม่เกิดช่องว่างในระบบบริการ โดยมีการติดตามและรายงานผลอย่างเป็นระบบ ๓. กำกับและติดตามการนำเข้าข้อมูลในระบบรายงานเด็กและสตรีที่ถูกกระทำรุนแรงที่เข้ารับบริการในศูนย์พึ่งได้ และ ระบบรายงานศูนย์ช่วยเหลือสังคม (OSCC Application) เพื่อให้ระบบรายงานมีความครบถ้วน ถูกต้อง เป็นปัจจุบัน ๔. พัฒนาศักยภาพของผู้รับผิดชอบงานศูนย์พึ่งได้ของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด โดยเป็นค่าใช้จ่ายในการเดินทางเข้าร่วมประชุม/อบรม/สัมมนา ๕. จัดสรรงบประมาณให้โรงพยาบาลชุมชน /จัดกิจกรรมร่วมกัน ตามเกณฑ์ 1152

ตัวชี้วัด ๑. ร้อยละ ๘๐ ของหน่วยบริการในสังกัดนำเข้าข้อมูลในระบบโปรแกรมรายงานเด็กและสตรีที่ถูกกระทำรุนแรง (ศูนย์พึ่งได้) ครบถ้วน ถูกต้อง เป็นปัจจุบัน ๒. ร้อยละ ๘๐ ของหน่วยบริการในสังกัดนำเข้าข้อมูลในระบบรายงานศูนย์ช่วยเหลือสังคม (OSCC Application) ครบถ้วน ถูกต้อง เป็นปัจจุบัน ๓. ร้อยละ ๘๐ ของบุคลากรกลุ่มเป้าหมายที่รับผิดชอบงานศูนย์พึ่งได้ของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด โรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลทั่วไปและโรงพยาบาลชุมชนได้รับการพัฒนาองค์ความรู้ ความรุนแรงในครอบครัว และใช้ระบบรายงานศูนย์พึ่งได้ และการใช้ระบบรายงานศูนย์ช่วยเหลือสังคมฯ ๔. ร้อยละ ๑๐๐ ของโรงพยาบาลชุมชน เปิดให้บริการช่วยเหลือเด็ก สตรีและ บุคลในครอบครัวที่ถูกกระทำรุนแรง (ศูนย์พึ่งได้) ๕. ร้อยละ ๒๐ ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพสต.) มีระบบ คัดกรอง ส่งต่อ การให้บริการ OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม 1152

เกณฑ์การจัดสรรงบประมาณ จะจัดสรรจากการรายงานข้อมูล ปี ๒๕๕๗ ในโปรแกรมระบบรายงาน - การรายงานข้อมูลผู้รับบริการศูนย์พึ่งได้ในปีงบประมาณ ๒๕๕๗ จะพิจารณาจากการรายงานข้อมูลในโปรแกรมระบบรายงานเด็กและสตรีที่ถูกกระทำรุนแรงของศูนย์พึ่งได้ เท่านั้น แต่เนื่องจากโปรแกรมมีปัญหา จึงขอขยายการลงรายงานจนถึงวันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๗ และจะใช้ข้อมูล ของปีงบประมาณ ๒๕๕๗ ในการจัดสรรงบประมาณในรอบถัดไป - การรายงานข้อมูลผู้รับบริการ OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม จะพิจารณาจากการเข้าไป Register ในระบบ และการรายงานข้อมูลผู้ประสบปัญหา 4 กลุ่มเป้าหมายในระบบรายงานศูนย์ช่วยเหลือสังคม (OSCC Application) เท่านั้น 1152

1152 หนังสือสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ที่ สธ ๐๒๒๘.๐๒/๒๙๗๖ ลงวันที่ ๒๘ ตุลาคม ๒๕๕๗ เรื่อง จัดสรรงบประมาณ งบดำเนินงานตามยุทธศาสตร์เฉพาะประจำปีงบประมาณ ๒๕๕๘ 1152

แผนการดำเนินงานในปี ๒๕๕๘ ร่วมกับกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จัดการอบรมเรื่องการดำเนินงานของศูนย์ช่วยเหลือสังคม และการใช้โปรแกรม oscc application (ต.ค. ๕๗) จัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดทำแผนการพัฒนางานและการใช้คู่มือการช่วยเหลือผู้หญิงที่ตั้งครรภ์ไม่พร้อมของศูนย์พึ่งได้ (พ.ย. ๕๗)

แผนการดำเนินงานในปี ๒๕๕๘ (ต่อ) อบรมเรื่องการบำบัดเยียวยาเด็กและครอบครัวที่ได้รับผลกระทบจากการถูกกระทำรุนแรง (มี.ค. ๕๘) การพัฒนาและปรับปรุงฐานโปรแกรมข้อมูลศูนย์พึ่งได้และโปรแกรม OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคมเพื่อปรับให้เป็นโปรแกรมเดียวกัน

แผนการดำเนินงานในปี ๒๕๕๘ (ต่อ) จัดอบรมการอบรมการใช้โปรแกรมฐานข้อมูลการให้บริการของศูนย์พึ่งได้และ OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม (ธ.ค.๕๗ –มี.ค.๕๘)

THANK YOU