กิจกรรมพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง (CQI)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
Advertisements

โครงการพัฒนาคุณภาพงาน ประจำปี พ. ศ
โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
การพัฒนาระบบการส่งต่อโรคเรื้อรังใกล้บ้านใกล้ใจ โรงพยาบาลท่ายาง อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี กฤษณา เปรมศรี 10 มกราคม
นำเสนอโดย นางสงวนศรี พลดอน พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลปัตตานี
สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สรรคุณค่าวิชาการ สู่สังคม
โครงการเพิ่มความคล่องตัวในการนำเข้า และกำกับ KPI สำนักงานของผู้บริหาร
CURADIO FEEDBACK SYSTEM TO PUBLIC
สรุปผลงานโครงการพัฒนาคุณภาพงานประจำปี พ.ศ. 2554
โครงการ “เวทีพบปะ HR ระดับต้น”
OCCURRENCE REPORT FORM
หมุนเวียนใช้หมดก่อน Expire
ผลการคัดกรองโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
กิจกรรมที่ 1 1. ให้ท่านอ่านกรณีศึกษาที่ท่านได้รับ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านพระแท่น ตำบลพระแท่น อำเภอท่ามะกา จังหวัดกาญจนบุรี รับผิดชอบดูแลพื้นที่ 16 หมู่บ้าน 1 อบต. 1 เทศบาล มีประชากร 9,054 คน.
ความรู้พื้นฐานการเชื่อมโยงเครือข่าย
การพัฒนาระบบส่งต่อ การดูแลสุขภาพเขตเมือง
สู้ “เบาหวาน – ความดัน” ด้วยจราจรชีวิตกับ 3 อ. พิชิตโรค
รายงานสถานภาพงบประมาณ
Medication reconciliation
ดูแล ด้วยใจ ห่วงใยด้วย pap โดย ลาเดือน แก้วจินดา 04/04/60.
ผลการพัฒนาระบบการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
ข้อมูลเศรษฐกิจการค้า
ร้อยละความทันเวลา การจัดส่งข้อมูล 43 แฟ้ม แยกรายอำเภอ (เดือน ตุลาคม 2556 – มีนาคม 2557) เกณฑ์>90%
งานอนามัยแม่และเด็ก ปี 2551
โครงการเพื่อนช่วยเพื่อน กลุ่มดอกไม้งาม อ.มวกเหล็ก จ.สระบุรี
ใกล้ไกล... ไปเป็นคู่ นายดุรากร จิตรดร เจ้าพนักงานสาธารณสุขชุมชน คลินิกพิเศษ โรงพยาบาลโพนพิสัย.
การดูแล ผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ระบบบริการดี ตรวจซีดีโฟร์ ครบตามมาตรฐาน
ผลการเฝ้าระวัง และป้องกันความล้มเหลวในการรักษาในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา โดย นส.จาฤดี กองผล, นางละมัย ช่วยแดง พยาบาลประจำคลินิกยาต้านไวรัสโรงพยาบาลระโนด.
บริบาลเภสัชกรรม รวดเร็วปลอดภัย คลินิกเด็กหัวใจสีเหลือง.
โรคหลอดเลือดสมองเสื่อม
ตารางแสดงตัวชี้วัดที่เฝ้าระวัง หน่วยไตเทียม ก่อนทำCQI
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
ไข้เลือดออก.
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
ข้อเสนอแนะและปัจจัยแห่งความสำเร็จ
บุคลากรของเรา นวก.สาธารณสุข 3 คน พยาบาลเวชปฏิบัติ 2 คน
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สสจ.อุดรธานี
โรงพยาบาลสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์
บทเรียนจากการเก็บข้อมูลภาคสนามเพื่อการติดตามตาม HIVDR-EWI
ผลงานเดือนเม.ย.-ธ.ค.56 ถึงเดือน ม.ค.57
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
การตรวจประเมินรับรอง รอบ 2 มาตรฐานงานสุขศึกษา
เพิ่มภาพ แผนที่ตำบล หรือภาพกิจกรรมชมรมสูงอายุในพื้นที่
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน กรกฎาคม 2556 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
LOGO รายงาน ความก้าวหน้า การส่ง / นำเข้าข้อมูล 21 / 43 แฟ้ม.
พิเชษฐ์ ไชยวงค์ สาธารณสุขอำเภอหนองหิน. ที่มา..... นโยบายที่เริ่มดำเนินการ ตั้งแต่ปี ปัจจุบัน เตรียมคน / สถานที่ / ประสานทีม แพทย์ / เภสัช / Lab.
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
NCD เขตบริการสุขภาพที่ 1.
สาขาโรคมะเร็ง.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน มีนาคม 2556 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน
ศูนย์สุขภาพชุมชนกุโบร์รวมใจ เครือข่ายโรงพยาบาลสงขลา
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2555 เดือนมกราคม
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา มิถุนายน 2554 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาส
โครงการพัฒนาระบบข้อมูล เพื่อการจัดการสุขภาพระดับอำเภอ
โรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช
นวัตกรรม7สี ปันรัก ไกลโรค ปี2556
การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง (CQI )
ผลงานเด่นรพ.สต.บ้านทุ่งปี,54
งานผู้ป่วยใน โรงพยาบาลบ้านเขว้า
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
คลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ
เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2555 เดือนพฤศจิกายน.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน พฤศจิกายน 2555 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กิจกรรมพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง (CQI) การพัฒนาระบบนัด หน่วยงาน คลินิกโรคเรื้อรัง

เป้าหมาย เพื่อให้ผู้มารับบริการได้รับการดูแลต่อเนื่อง ลดอัตราการขาดนัด

ปัญหา / โอกาสพัฒนา ผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงมารับบริการในคลินิกเฉลี่ยวันละ 90 – 110 ราย อัตราการผิดนัดค่อนข้างสูง สาเหตุของการผิดนัด 1. จากมียาเหลือ ทำให้ไม่ได้ดูวันนัด 2. ยาหมดก่อนวันนัด 3. ติดธุระในวันนัด 4. ดูวันนัดผิด 5. ผู้สูงอายุมาลำบาก ไม่มีญาติพามารับยา อัตราการผิดนัดของผู้ป่วยเบาหวาน / ความดันโลหิตสูงเพิ่มขึ้น เกิดความล่าช้าในการให้บริการเนื่องจากผู้มารับบริการเพิ่มมากขึ้น

ตัวชี้วัด 1. อัตราการผิดนัดของผู้ป่วยเบาหวาน < 8 % 2. อัตราการผิดนัดของผู้ป่วยความดันโลหิตสูง < 12 %

กิจกรรม มีการพัฒนาระบบนัด โดย กิจกรรม มีการพัฒนาระบบนัด โดย 1. วิเคราะห์สาเหตุเพื่อหาแนวทางแก้ไข 2. ชี้แจงความสำคัญของการมาตรวจตามนัด 3. แยกนัดเป็นรายหมู่บ้าน และให้ผู้ป่วยมีส่วนร่วมในการนัด (วันที่สะดวกมา) 4. กรณีนัดแล้วแต่ติดธุระให้โทรศัพท์แจ้งเลื่อนวันนัดได้ (แต่ผู้ป่วยต้องไม่ขาดยา ) 5. โทรศัพท์ติดตามกรณีที่ผู้ป่วยแจ้งเบอร์โทรศัพท์ไว้ 6. สั่ง / จ่ายยาตรงตามจำนวนวันนัด และให้นำยาเก่าที่เหลือมาด้วยทุกครั้ง

กิจกรรม ( ต่อ ) 7. ระบุวันนัด / สถานที่นัด เหตุผลการนัดให้ชัดเจน 8. ประสาน อ.ส.ม. ช่วยวัด BP / ตรวจ FBS ให้ในรายที่ไม่สะดวกมา และฝากรับยาแทนได้ 9. กรณีไม่มีญาติประสานทีมเยี่ยมบ้านเพื่อติดตามดูแลต่อเนื่อง / จ่ายยาที่บ้าน 10. ผู้ที่มาผิดนัดครั้งแรกจะได้รับการตักเตือน 11. ผู้ที่มาผิดนัดครั้งที่ 2 จะได้รับการตรวจ และรับยาภายหลังจากตรวจผู้ที่มารับบริการตรงนัดแล้วเสร็จ

กิจกรรม ( ต่อ ) 11. ประสานผู้นำชุมชนประชาสัมพันธ์ในหมู่บ้านเมื่อถึงวันนัดรับยา 12. ประสานเทศบาลในการจัดรถรับ - ส่งผู้ป่วยกรณีไม่มีญาติพามา

ผลลัพธ์ จำนวนผู้มารับบริการ คลินิกเบาหวานปีงบประมาณ 2556 จำนวนผู้มารับบริการ คลินิกเบาหวานปีงบประมาณ 2556 เดือน นัด ผิดนัด คิดเป็นร้อยละ ต.ค.55 1,053 81 7.70 พ.ย.55 1,006 53 5.26 ธ.ค.55 751 58 7.73 ม.ค.56 1,139 81 7.12 ก.พ.56 908 58 6.39 มี.ค.56 963 85 8.83

ผลลัพธ์ จำนวนผู้มารับบริการ คลินิก HT ปีงบประมาณ 2556 เดือน นัด ผิดนัด คิดเป็นร้อยละ ต.ค.55 926 93 10.05 พ.ย.55 894 116 12.97 ธ.ค.55 754 92 12.21 ม.ค.56 783 94 12.01 ก.พ.56 650 76 11.69 มี.ค.56 934 108 11.61

แผนภูมิแสดงจำนวนผู้มารับบริการคลินิกโรคเรื้อรัง / ผู้ป่วยผิดนัด เดือน แผนภูมิแสดงจำนวนผู้มารับบริการคลินิกโรคเรื้อรัง / ผู้ป่วยผิดนัด

ตัวชี้วัด KPI ปีงบประมาณ 2553 2554 2555 2556 มี.ค.56 1. อัตราการผิดนัด DM ≤ 8 % 9.58 7.68 8.16 7.18 2. อัตราการผิดนัดHT ≤ 12 % 12.05 12.11 14.20 11.44

บทเรียนที่ได้รับ จากการพัฒนาระบบนัด ทำให้ผู้ป่วยได้รับบริการดูแลต่อเนื่อง ทั้งในคลินิกบริการ และเป็นข้อมูลส่งต่อทีมเยี่ยมบ้านในชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น / ชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วย

ขอบคุณค่ะ