ฉากและบรรยากาศ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
“ เทคนิคการนำเสนอโครงงาน ” (ด้วยวาจา)
Advertisements

วิชาหัวข้อเรื่องที่ทันสมัยทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ 6 มกราคม 2555
ประเภทและระดับ ของการสื่อสาร
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
การเขียน ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา อาจารย์สมพงษ์ พันธุรัตน์
องค์ประกอบของนาฏศิลป์ไทย
คดี มาจากคำว่า คติ แปลว่า การไป การเคลื่อน แบบ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การจัดการแสดงและการวิจารณ์การแสดง
ทัศนธาตุคือหัวใจ เป็นบันไดสร้างทัศนศิลป์
ธรรมชาติและลักษณะของภาษา
วิเคราะห์องค์ประกอบดนตรี
คลิก เข้าสู่การเรียนรู้
คลิกเลือกหัวข้อตามที่ต้องการได้เลยค่ะ
การสัมภาษณ์ อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
Tuesdays with Morrie & หลายชีวิต
ห้องเรียนแห่งการเปลี่ยนแปลง
รหัสวิชา SOHU0022 Information Literacy ครั้งที่ 10 หนังสืออ้างอิง
การสร้างงานกราฟิก.
การสร้างสื่อประสมบทเรียนช่วยสอน Multimedia ผ่าน Internet
เทคนิคการสอนและการใช้สื่อคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา
การจัดแสงสำหรับงานโทรทัศน์
บทนำ วิชานาฏยหัตถกรรม Stage Crafts (อ.เมษา อุทัยรัตน์)
เพื่อการสื่อสารทางธุรกิจ
วัตถุประสงค์ของการศึกษาด้วยกรณีศึกษา
( Theory of Multiple Intelligences ) Gardner (การ์ดเนอร์)
กระบวนการทำแผนการจัดการเรียนรู้
ทัศนคติในเทพนิยาย.
การวัดและประเมินผลผู้เรียน
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
เทคนิคการนำเสนอ วันจันทร์ที่ 23 พฤษภาคม 2554
การนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาสนับสนุนการทำงาน
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์
ตัวละคร.
การอ่านเชิงวิเคราะห์
ความหมายของการวิจารณ์
จัดทำโดย 1. นาย ยุทธพิชัย ตินรัตน์ ม.5/6 เลขที่ 4 2. นาย สิรภพ พิกุลทอง ม.5/6 เลขที่ นาย พีระทัด นาคดิลก ม.5/6 เลขที่ นาย ภานุวัฒน์ เพ็งผอม.
แก่นเรื่อง.
ขั้นตอนและหลักการคิดวิเคราะห์วรรณคดี
บทที่ 7 การศึกษาและ การนำเสนอสารสนเทศ
การถ่ายวีดีโอ.
สื่อการเรียนรู้เรื่อง ข้อมูล
ความรู้เกี่ยวกับวรรณกรรม
ฉากและบรรยากาศ.
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
การอ่านเชิงวิเคราะห์
การเขียนรายงานเพื่อนำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์
องค์ประกอบของวรรณคดี
บทที่8 การเขียน Storyboard.
 มาจากภาษาอังกฤษว่า Literature เช่นเดียวกับวรรณกรรม สำหรับใน ภาษาไทยนั้นมีการใช้คำว่า " วรรณคดี " ก่อนภายหลังจึงได้เกิดมีคำว่า " วรรณกรรม " ขึ้น  คำว่า.
บทสนทนา การเดินเรื่อง มุมมองของกวี
การสร้างสรรค์บทละคร.
ฉากและบรรยากาศ ในวรรณคดี
องค์ประกอบของบทละคร.
เอกสารประกอบวิชาการอ่าน เรื่อง ความรู้พื้นฐานเรื่องการอ่าน
ความหมายของการวิจารณ์
การประเมินพัฒนาการทางภาษาตามแนวสมดุลภาษา
คนตัดไม้กับขวานเงินขวานทอง
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์วรรณคดี
Lighting Designer นักออกแบบแสง.
ADDIE Model.
ประเภทของการวิจารณ์.
ทักษะการอ่าน.
ความสำคัญ และ คุณค่า ของวรรณกรรม.
การสร้างภาพบนเวทีและ การออกแบบเพื่อการแสดง
การเขียนบทวิจารณ์วรรณกรรม
การเขียนบทโฆษณา และการผลิตภาพยนตร์โฆษณา
ภาษาและเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับครู
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนจดหมายธุรกิจ
การนำเสนอสารด้วยวาจา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ฉากและบรรยากาศ

ฉาก

ฉาก ( setting ) หรือสภาพแวดล้อมของตัวละคร เป็นองค์ประกอบสำคัญอีกอย่างหนึ่งของเนื้อหา ฉากหรือสภาพแวดล้อมของตัวละครโดยจะเป็นสถานที่และบรรยากาศที่ให้ตัวละครโลดแล่นไปตามเรื่องราว ฉากอาจจะเป็นสถานที่จริง ๆ ที่มีอยู่ หรือไปดูไปสัมผัสได้

เช่น ฉากกรุงเทพมหานคร , ฉากริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา ฉากป่ากำแพงเพชร เป็นต้น หรือฉากที่เกิดจากจินตนาการของกวีผู้สร้างเรื่อง เช่น ฉากป่าหิมพานต์ , ฉากวิมานฉิมพลี , ฉากสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ เป็นต้นนอกจากนี้ฉากมิได้มีความหมายเพียงสถานที่เท่านั้น หากแต่หมายรวมทั้งสถานที่ , เวลา และสภาพแวดล้อมทุกอย่างที่ปรากฏในเรื่องด้วย

บรรยากาศ

บรรยากาศ หรือ atmosphere นั้น อาจารย์ สายทิพย์ นุกูลกิจ ได้ให้ความหมายของคำว่า “ บรรยากาศ ” ในเชิงวรรณกรรม ว่า ทีท่าของผู้อ่านที่มีต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่งตามแต่ผู้แต่งจะชักพาไป เช่น เศร้าหมอง , กราดเกรี้ยว , ขมขื่น , เยาะหยัน หรือขบขัน เป็นต้น ผู้แต่งอาจใช้เครื่องแต่งกายของตัวละคร สิ่งของเครื่องใช้ บทสนทนา ฉาก แสง สีและเสียง ฯลฯ

เป็นเครื่องมือในการสื่อทีท่าและทัศนคติดังกล่าวนั้นมายังผู้อ่านได้ เช่น ในตอนที่ผู้แต่งต้องการให้ผู้อ่านได้ทราบความรู้สึกของตัวละครที่ยังไม่แน่ใจว่า ตนเองจะสมหวังหรือไม่นั้น ผู้แต่งอาจจะกำหนดฉากให้เป็นเวลาตอนเช้ามืด ฟ้าเริ่มจะสางซึ่งเป็นเวลาที่ตัวละครมองอะไรไม่เห็นชัดเจนเพื่อให้ผู้อ่านได้เข้าใจว่าบรรยากาศนี้มีสภาพเหมือนจิตใจของตัวละคร นอกจากนี้อาจใช้เสียงเป็นสัญลักษณ์ในการสื่อบรรยากาศได้เช่นกัน

เช่น เสียงที่แหบแห้งสั่นเครือของตัวละคร หรือเสียงดนตรีที่โหยหวน ก็อาจจะสื่อภาวะอารมณ์ที่ว้าเหว่ของตัวละครได้ เป็นต้น แต่การที่ผู้ อ่านจะทราบทีท่าหรือเกิดทัศนคติตามผู้แต่งได้นั้น ผู้อ่านจำเป็นต้องอ่านเรื่องราวต่าง ๆ ที่ผู้เขียนจงใจสื่อมาให้ผู้อ่านอย่างละเอียด ทั้งนี้ เพราะการอ่านอย่างละเอียดนั้น นอกจากจะมีส่วนช่วยให้ผู้อ่านเกิดอารมณ์ร่วมไปกับผู้แต่งและตัวละครตลอดจนเหตุการณ์ในเรื่องอีกด้วย

จบการนำเสนอ