ความหมาย ระดับที่ ๑ การเรียนรู้ที่เป็นการกระทำ เป็นกิจกรรม / เป็นโครงงาน ของ “Active” = Action / Activity / Project ความหมาย ระดับที่ ๒ ของ “Active” การเรียนรู้อย่าง.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเรียนรู้ ในศตวรรษที่ ๒๑
Advertisements

กลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ชั้นประถมปีที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๗
นายกสภา มหาวิทยาลัยมหิดล
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
โครงงานคืออะไร ??? ติดตามมาเลยนะครับ…..
ชี้แจงการสัมมนากลุ่มย่อย
ทฤษฎีการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม
รายงานข้อสั่งการ ข้อสั่งการ ๑. การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ
ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
แนวคิดการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
บทที่ 1 เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา
ห้องเรียนแห่งการเปลี่ยนแปลง
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
สัปดาห์ที่ 5 เรื่อง การจูงใจ.
อารมณ์และความต้องการของวัยรุ่น
การใช้คลิปวีดิทัศน์ในการจัดการความรู้ ในงานห้องสมุด : กรณีศึกษา มทรอ.
มีหน้าที่เชื่อมโยงผู้คน/หน่วยงานเข้าหากัน
“Knowledge Management in Health Care”
การสร้างบรรยากาศแห่งการเรียนรู้สำหรับผู้เรียนชาวไทย Assistant Professor Dr. Christopher Johnson
วิทยาศาสตร์การคิด วิทยาศาสตร์การคิด
มาตรฐานวิชาชีพครู.
รายละเอียดของรายวิชา
การจัดการศึกษาในชุมชน
ความหมาย ปัญญาประดิษฐ์
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (รนสช.)
สิ่งที่จะเรียนรู้ในวันนี้
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
การสอนแบบบรรยาย-อภิปราย
แผนการจัดการเรียนรู้ บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research)
เทคนิคการฝึกอบรมที่เน้นผู้เข้ารับการอบรม
โครงการการพัฒนางานเชิงระบบ โดยกระบวนการวิจัยในงานประจำ (R2R)
เรื่อง การเขียนรายงาน
๔. ด้านการพัฒนาบุคลากร ของสถานศึกษา.
๑. ด้านบริหารจัดการสถานศึกษา
โครงงาน คุณธรรมจริยธรรมในชั้นเรียน
แนวทางในการประเมินความพร้อม เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานตามนโยบาย
องค์ประกอบที่ ๑ การจัดทำป้ายชื่อพรรณไม้
ความรู้เกี่ยวกับตัวเรา
๘ กลยุทธ์ การยกระดับและคุณภาพ O-NET ปี ๒๕๕๕
วิธีการฝึกอบรม ลูกเสือสามัญ
สรุป แนวคิด “ การเรียนรู้ ” (Learning) (Additional A1) Key word ที่สำคัญที่สุดของ เรื่อง “ คุณภาพ การศึกษา ” สรุปโดย นายไพโรจน์ พิทักษ์ทวยหาญ ศึกษานิเทศก์
การเขียน.
ทักษะและเทคนิคการสอน Teaching Skills and Techniques
หน่วยที่ ๙ การเขียนโครงการ
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
กลยุทธ์และกระบวนการสร้างการเรียนรู้
แนวทางการสอนเพื่อพัฒนาทักษะเด็กตามรูปแบบ การสอนแบบโครงงาน/โครงการ
กลุ่ม A2 “ข้าวเด้ง”.
จำ Remember - Knowledge เข้าใจ Understanding ประยุกต์ Application วิเคราะห์ ( ความรู้ ) Analysis สังเคราะห์ ( เป็นความรู้ ใหม่ ) Synthesis 6 ขั้น.
หน่วยที่ ๑๑ การศึกษาวรรณกรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น
วิธีสอนแบบสืบสวนสอบสวน
การสอนแบบสืบสวนสอบสวน
Workshop วิชาการถ่ายทอดความรู้วิทยากร ตาม worksheet 1-5.
บทที่ ๙ สนุกสนานกับการเล่น
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
การเขียนโครงการ.
Theories of Innovation and Information Technology for Learning
Worksheets for Workshop แบบฝึกปฏิบัติการ หลักสูตรการบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้ และการถ่ายทอดความรู้ของวิทยากร สถาบันการเรียนรู้กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง.
การออกแบบและสร้างสรรค์สภาพแวดล้อม
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
การทัศนศึกษา.
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
กรอบแนวคิดการพัฒนาหลักสูตรช่วงชั้นที่ 3 และ 4
Worksheets for Workshop แบบฝึกปฏิบัติการ หลักสูตรการบริหารจัดการ การ จัดการเรียนรู้ และการถ่ายทอด ความรู้ของวิทยากร สถาบันการเรียนรู้กองทุนหมู่บ้าน และชุมชนเมือง.
ลดรายจ่ายเพิ่มรายได้ ไม่เสี่ยงความยากจน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความหมาย ระดับที่ ๑ การเรียนรู้ที่เป็นการกระทำ เป็นกิจกรรม / เป็นโครงงาน ของ “Active” = Action / Activity / Project ความหมาย ระดับที่ ๒ ของ “Active” การเรียนรู้อย่าง กระตือรือร้น น่าสนใจ / มีชีวิตชีวา = ความหมาย ระดับที่ ๓ ของ “Active” ตรงข้ามกับ Passive การเรียนรู้ที่ผู้เรียนสร้างและ ประกอบ ความรู้ขึ้นด้วยตัวเอง = ตรงข้ามกับ Inert ( ความหมายในระดับ เป้าหมาย ) ( ความหมายในระดับเนื้อหา ) ( ความหมายในระดับ รูปแบบ )

ประชุม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ นำเสนอความรู้ ความคิด ความเห็น ในรูปแบบต่างๆ ฯลฯ ทำโครงงาน ความหมายระดับที่ ๑ : การเรียนรู้ที่เป็นการกระทำ ๑ ในห้องปฏิบัติการ ๒ ในภาคสนาม ๓ ในหน่วยงานหรือ สถานประกอบการ ฯลฯ ทำงานจริง ๑ ในห้องทดลอง ๓ ในภาคสนาม ๒ ในแปลงสาธิต ฯลฯ ทดลอง หรือ ทดสอบ ๑ ที่เป็นการจำลอง ประสบการณ์ ๒ ที่เป็นปริศนาการเรียนรู้ ๓ ที่สร้างแรงบันดาลใจ และแรงจูงใจ ฯลฯ ทำกิจกรรมเล็กๆ เกม หรือ การละเล่น

เป็นการเรียนรู้ที่ มีภาวะพร้อมเรียนรู้อยู่เสมอ เป็นการเรียนรู้ที่ มีความงามอยู่เสมอ ๒ ผู้เรียนเห็นที่มา ของความรู้นั้น ๓ ผู้เรียนเห็น ความเชื่อมโยง กับความรู้สาขาอื่นๆ บริบทที่ผู้เรียนเห็น ความหมาย ของความรู้นั้น บริบทที่ผู้เรียนเห็น ความสำคัญ ของความรู้นั้น ๑ ผู้เรียนเห็น ความสำคัญของ การประยุกต์ความรู้นั้น ๓ ผู้เรียนเห็น การพัฒนาร่างกาย อุปนิสัย และสติปัญญา ผ่านความรู้นั้น เป็นการเรียนรู้ที่เชื่อมโยง อยู่ในบริบทเสมอ ความหมายระดับที่ ๒ : การเรียนรู้อย่างกระตือรือร้น น่าสนใจ / มีชีวิตชีวา เป็นเรื่องที่ ชวนติดตาม ชวนให้อยากรู้ อยากสร้างสรรค์ เพิ่มขึ้นอย่าง ต่อเนื่องเป็นลูกโซ่ ๑ ผู้เรียนเห็นความเชื่อมโยง กับสภาพแวดล้อมและเงื่อนไข ของความรู้นั้น ๑ ความงามที่สัมผัสตรง ผ่านผัสสะทั้ง๖ ๒ ความงาม ในวิถีปฏิบัติ ๓ ความงาม ในความสัมพันธ์ ๔ ความงาม ในอุดมการณ์ ของเป้าหมาย ๒ ผู้เรียนเห็น ความต่อเนื่อง ของความรู้นั้น ไปสู่ความรู้อื่นๆ

ความหมายระดับที่ ๓ : การเรียนรู้ที่ผู้เรียนสร้าง และประกอบความรู้ขึ้นด้วยตัวเอง ๒ ผู้เรียนได้ซึมซับ โดยตรงอย่างลึกซึ้ง จมูก ลิ้น ตา หู กาย ใจ ๑ ผู้เรียนได้มี ประสบการณ์โดยตรง ผ่านผัสสะ ๑ วิธีอุปนัย ๒ วิธีนิรนัย ๓ ผู้เรียนได้คาดคะเน หรือสร้างหลักการของ ความรู้ขึ้นด้วยตัวเอง * อุปนัยนำหน้านิร นัย