ผลกระทบของเอฟทีเอไทย - อี ยู วิฑูรย์ เลี่ยนจำรูญ BIOTHAI ต่อความหลากหลายทาง ชีวภาพ เหตุผลการเคลื่อนไหวของเครือข่าย เกษตรกรทั่วประเทศ
Biodiversity Research Thailand, สวทช.
ประโยชน์จากการเข้าเป็นภาคี
ผลกระทบต่อเกษตรกร - เมล็ดพันธุ์ราคา แพง พันธุ์พืชไร่ พื้นที่ ล้านไร่ ปริมาณเมล็ด ตัน มูลค่า ล้านบาท ราคาเพิ่ม (เท่า) มูลค่า ล้านบาท ข้าว69.111,036,65020, , ,422 ข้าวโพดไร่ ,8052, ,754 ข้าวฟ่าง ทานตะวัน ถั่วเหลือง , ถั่วเขียว0.954, ถั่วลิสง0.2094, พันธุ์ผักพื้นที่ล้านไร่ ปริมาณ ตัน มูลค่า ล้านบาท มูลค่า ล้านบาท 3.865,6451, ,432 พืชยืนต้น พื้นที่ ล้านไร่ ปริมาณ ต้น มูลค่า ราคาที่ เพิ่มขึ้น มูลค่า ล้านบาท ยางพารา ,000,0002, ,100 ปาล์มน้ำมัน4.324,752, รวม ,53880, ,932
หนึ่งในเครือข่ายประชาชนที่ร่วม เคลื่อนไหว
จีเอสพี เหตุผลหลักของการเจรจาเอฟที เอ
กลุ่มสินค้าที่ได้ประโยชน์จากจีเอสพี
ลักษณะของข้อตกลงที่เกินไป กว่าทริปส์ (TRIPS+) ที่ส่งผล กระทบต่อการเข้าถึงยา นิยามยาปลอมๆ การบังคับใช้ กฎหมาย มาตรการ ชายแดน ยืดอายุสิทธิบัตรจาก 20 ปี เป็น 25 ปี การเพิ่มกรอบการ คุ้มครองสิทธิบัตร (Increasing Patent Scope) ผูกขาดข้อมูลทางยา ปี (Data Exclusivity + Patent Linkage) ตัดการคัดค้านก่อนการ ออกสิทธิบัตร (Pre-grant Opposition) จำกัดในการใช้ มาตรการยืนหยุ่น (Restrictions on TRIPS’ Flexibilities) การคุ้มครอง การลงทุนที่เปิด ให้นักลงทุนฟ้อง รัฐภายใต้กลไก ระงับข้อพิพาท ระหว่างรัฐและ เอกชน (ISDS)
หากยอมรับ ข้อตกลง ที่เกินไปกว่าท ริปส์ (TRIPS+) ยาราคา แพง คนเข้าไม่ ถึงยา ทำลายผู้ผลิตยา ในประเทศไทย พึ่งตัวเองไม่ได้ ด้านยา ออกสิทธิบัตรง่ายๆ ( ปล่อยผี Evergreening Patent) จำกัด มาตรการ ยืดหยุ่น TRIPS’ Flexibilities ขัดขวางยาชื่อสามัญ ( ผูกขาดข้อมูลทางยา, บังคับใช้กฎหมายเข้มงวด ขึ้น, บังคับ อย. เป็นตำรวจ สิทธิบัตร )
ผลการศึกษาวิจัยจากสำนักวิจัยชั้นนำ ของประเทศมีข้อสรุปในทำนองเดียวกันว่า การเจรจาความตกลงการค้าเสรีในส่วน ทรัพย์สินทางปัญญาที่เกินกว่าความตก ลงทริปส์ จะก่อให้เกิด ( ๑ ) การผูกขาดตลาดอย่างยาวนาน และทำ ให้ราคายาแพงขึ้นอย่างมากมาย ( ๒ ) ประเทศชาติต้องแบกรับค่าใช้จ่ายด้าน ยาเพิ่มขึ้นมหาศาล ( ๓ ) ประชาชนไม่สามารถเข้าถึงยาได้ ( ๔ ) ส่งผลกระทบด้านลบต่อการพัฒนา อุตสาหกรรมยาสามัญภายในประเทศ “ ประโยชน์ส่วนใหญ่จะตกอยู่กับ บรรษัทยาข้ามชาติเท่านั้น ” ผลการศึกษาวิจัยจากสำนักวิจัยชั้นนำ ของประเทศมีข้อสรุปในทำนองเดียวกันว่า การเจรจาความตกลงการค้าเสรีในส่วน ทรัพย์สินทางปัญญาที่เกินกว่าความตก ลงทริปส์ จะก่อให้เกิด ( ๑ ) การผูกขาดตลาดอย่างยาวนาน และทำ ให้ราคายาแพงขึ้นอย่างมากมาย ( ๒ ) ประเทศชาติต้องแบกรับค่าใช้จ่ายด้าน ยาเพิ่มขึ้นมหาศาล ( ๓ ) ประชาชนไม่สามารถเข้าถึงยาได้ ( ๔ ) ส่งผลกระทบด้านลบต่อการพัฒนา อุตสาหกรรมยาสามัญภายในประเทศ “ ประโยชน์ส่วนใหญ่จะตกอยู่กับ บรรษัทยาข้ามชาติเท่านั้น ” การนำเสนอของสำนักงานคณะกรรมการอาหารและ ยา, 22 พ. ย.55
ค่าใช้จ่ายที่จะเพิ่มขึ้นใน ระยะปานกลาง – ยาว คาดการณ์ผลกระทบ 34 ฉากทัศน์ ตย. ฉากทัศน์หากไทยยินยอม – ขยาย ระยะเวลาคุ้มครองสิทธิบัตร และ ผูกขาดข้อมูลยา ที่มา: จิราพร และคณะ, 2552