การบ้าน กำหนดให้ ยีน R ควบคุมการมีสีแดง ข่มยีน r ซึ่งควบคุมการมีสีขาวอย่างไม่สมบูรณ์ (co-dominant alleles) โดยโค Rr จะมีสีโรน หากฝูงโคหนึ่ง พบว่ามีสีแดงอยู่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สมดุลเคมี.
Advertisements

Analyze → Compare Means → Paired-Sample T test…
การทดสอบสมมติฐาน (Hypothesis Testing)
การทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับ ค่าเฉลี่ยประชากร 1 กลุ่ม
การทดสอบสมมติฐานสัดส่วนของประชากร
ไม่อิงพารามิเตอร์เบื้องต้น
ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล
บทที่ 10 งบประมาณลงทุน.
การตั้งสมมติฐานและตัวแปร
บทที่ 12 การวิเคราะห์การถดถอย
การทดสอบไคกำลังสอง (Chi-square)
การทดสอบที (t) หัวข้อที่จะศึกษามีดังนี้
การศึกษาทางชีววิทยา Umaporn.
พันธุกรรมและความหลากหลายทางชีวภาพ
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
การเรียงสับเปลี่ยนและทฤษฎีการจัดหมู่
เอกสารประกอบคำสอนอาจารย์ ดร.ศุกรี อยู่สุข
เอกสารประกอบคำสอน อาจารย์ ดร.ศุกรี อยู่สุข
ดูวัวให้ดูที่หาง ดูนางให้ดูที่แม่ แต่ถ้าจะให้แน่ต้องดูที่ยาย
Graphical Methods for Describing Data
(quantitative genetics)
การตรวจสอบข้อมูลทางอุทกวิทยา
การทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับลักษณะของข้อมูล
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
2-test.
Reliability Engineering
Menu Analyze > Correlate
สถิติเชิงสรุปอ้างอิง(Inferential or Inductive Statistics)
นายเพียร แก้วสวัสดิ์ 2549 เสนอ ดร.อุดม คำหอม
การทดสอบสมมติฐาน
การพิจารณาจำนวนเฉพาะ
(Mantel-Heanszel Produrc)
การทดสอบความแปรปรวน ANOVA
น.ท.หญิง วัชราพร เชยสุวรรณ วิทยาลัยพยาบาลกองทัพเรือ
การใช้งาน โวลท์มิเตอร์
วิจัย (Research) คือ อะไร
การคัดเลือกพันธุ์พืชผสมข้าม
การให้เหตุผล การให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ที่สำคัญ มี 2 วิธี ได้แก่
การอ่านค่าความจุของคาปาซิเตอร์
แผนกบริหารธุรกิจ โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี ”
การทดสอบค่าเฉลี่ยประชากร
ชื่อเรื่อง การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสามมิติเพื่อพัฒนาการเรียน การสอนหน่วยที่ 1 การบำรุงรักษาเครื่องยนต์เล็ก วิชางานเครื่องยนต์เล็ก รหัส
หลักการแปลผล สรุปผล II
Chi-square Test for Mendelian Ratio
Genetic drift Before: 8 RR 0.50 R 8 rr 0.50 r After: 2 RR 0.25 R 6 rr
งานวิจัย เรื่อง การใช้ชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์
Chi-Square Test การทดสอบไคสแควร์ 12.
นางสาวสุภัทรา สุขวัฒนา วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
Population genetic พันธุศาสตร์ประชากร.
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
ชื่อเรื่องวิจัย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ด้านการพูดภาษาอังกฤษของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาการบัญชี วิทยาลัยเทคโนยีวิมล.
1. 2 ปัญหาของการวิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมล ศรีย่าน  จุดมุ่งหมายของหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2545 กำหนดให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ และประสบการณ์
ผลการพัฒนาวิธีการสอนโดยใช้แผนผัง ความคิด วิชา ครอบครัวศึกษาและความปลอดภัย ในชีวิต ( ) เรื่อง ความปลอดภัยในการใช้ยา ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตร.
การจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือวิธีจิ๊กซอร์ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย เรื่อง ลักษณะโดยทั่วไปของการฝากขาย ของนักเรียนชั้น.
คะแนนมาตรฐาน และ โค้งปกติ
หลักการคัดเลือกพันธุ์สัตว์ Principle of Selection
การทดสอบค่าเฉลี่ยประชากร 2 ประชากร
สถิติเพื่อการวิจัย 1. สถิติเชิงบรรยาย 2. สถิติเชิงอ้างอิง.
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
“การศึกษาประสิทธิภาพบทเรียนบนเว็บในการเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยทฤษฎีทางเทคโนโลยีการศึกษาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (E-learning) วิชาหลักการตลาด ของนักศึกษาคู่ขนาน.
อ.ดร. จิรวัฒน์ สนิทชน ภาควิชาพืชศาสตร์และทรัพยากรเกษตร
ชื่อเรื่อง บทเรียนการสอนโดยใช้ E-Learning วิชาบัญชีต้นทุน 1 ของ นักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)
การทดสอบสมมุติฐาน Hypothesis Testing.
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ลักซ์มิเตอร์ (Luxmeter)
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อความถี่ยีน
เทคโนโลยีสื่อประสมสอน ฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ นายชูชีพ ขาวเจริญ วิทยาลัยเทคโนโลยีนีร ชาบริหารธุรกิจ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การบ้าน กำหนดให้ ยีน R ควบคุมการมีสีแดง ข่มยีน r ซึ่งควบคุมการมีสีขาวอย่างไม่สมบูรณ์ (co-dominant alleles) โดยโค Rr จะมีสีโรน หากฝูงโคหนึ่ง พบว่ามีสีแดงอยู่ 250 ตัว, สีโรน 450 ตัว และสีขาว 200 ตัว การผสมพันธุ์ Rr จะต้องได้ลูกสีแดง : สีโรน : สีขาว ในอัตราเท่ากับ 1:2:1 ในประชากรนี้ยีน R ข่ม r แบบใด ตั้งสมมุติฐาน Ho : อัตราส่วนของ ลูกสีแดง : สีโรน : สีขาว = 1:2:1 HA : อัตราส่วนของ ลูกสีแดง : สีโรน : สีขาว  1:2:1

การทดสอบไค-สแควร์ (2-test) 2value =   เมื่อ O = จำนวนที่ได้จากการสังเกต (observed number) E = จำนวนที่คาดว่าควรจะเป็นตามทฤษฎี (expected number) ถ้า 2value ที่คำนวณได้ < 2 (df) จากตาราง จึงยอมรับสมมุติฐานว่าอัตราส่วนเป็นไปตามทฤษฎี

ค่าที่ได้จากการสังเกต Phenotype อัตราส่วน ที่ทดสอบ ค่าที่ได้จากการสังเกต ค่าคาดหมายตามทฤษฎี แดง โรน ขาว 1 2 250 450 200 225 รวม 4 900 ค่าคาดหมายตามทฤษฎีคำนวณได้จาก: 1. นับจำนวนอัตราส่วนที่ทดสอบรวมแล้วนำไปหารจำนวนสัตว์ที่ทดสอบรวม เพื่อคำนวณจำนวนสัตว์ต่อหนึ่งอัตราส่วน จำนวนอัตราส่วนทดสอบรวม = 3+1 = 4 จำนวนสัตว์ต่อหนึ่งอัตราส่วน = 900/4 = 225 2. คูณกลับเข้ากับจำนวนอัตราส่วนที่ทดสอบเพื่อเป็นค่าคาดหมายตามทฤษฎี ค่าคาดหมายของการเกิดลูกสีแดงและขาว = 1x225 = 225 ค่าคาดหมายของการเกิดลูกสีโรน = 2x225 = 450

2value = =   เมื่อเปิด 2(2) จากตารางที่นัยสำคัญ 0.05 ที่ df 2 พบว่ามีค่า 5.99 เนื่องจาก 2value < 2 (2) ดังนั้นจึง ยอมรับ Ho (null hypothesis) สรุปว่า การควบคุมลักษณะการมีสีของโคเป็นแบบข่มไม่สมบูรณ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ

การตรวจสอบสมดุลของความถี่ยีนในประชากรโคเนื้อ Phenotype O f(genotype) E O-E (O-E)2 (O-E)2/E แดง 250 0.278 250.2 -0.2 0.04 0.00016 โรน 450 0.5 ขาว 200 0.222 199.8 0.2 0.0002 รวม 900 1 0.0004 ค่า Expected คำนวณได้จาก p2(N), 2pq(N), และ q2(N) สำหรับยีโนไทป์ RR, Rr และ rr ดังนั้น ค่าคาดหวังว่าจะพบตามกฎ H-W คำนวณได้ดังนี้ สีแดง = p2(N) = (0.278)(900) = 250.2 สีโรน = 2pq(N) = (0.5)(900) = 450 สีขาว = q2(N) = (0.222)(900) = 199.8 N = จำนวนสัตว์ทั้งหมดในประชากร

เมื่อเปิด 2(1) จากตารางที่นัยสำคัญ 0.05 ที่ df 1 พบว่ามีค่า 3.84 Phenotype O f(genotype) E O-E (O-E)2 (O-E)2/E แดง 250 0.278 250.2 -0.2 0.04 0.00016 โรน 450 0.5 ขาว 200 0.222 199.8 0.2 0.0002 รวม 900 1 0.0004 เมื่อเปิด 2(1) จากตารางที่นัยสำคัญ 0.05 ที่ df 1 พบว่ามีค่า 3.84 เนื่องจาก 2value < 2 (1) ดังนั้นจึง ยอมรับ Ho (null hypothesis) สรุปว่า ยีนควบคุมลักษณะการมีสีของโค มีความถี่ยีนอยู่ในสมดุลของ H-W อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ข้อสังเกต : เนื่องจากความถี่ยีโนไทป์ สามารถคำนวณได้หากทราบความถี่ยีนใดยีน R หรือ r ตัวใดตัวหนึ่ง ดังนั้น จึงมี df = 1