ชนิดของข้อมูล 1) ข้อมูลที่เป็นตัวเลข (Numeric Data) หมายถึง ข้อมูลที่ใช้แทนจำนวนที่สามารถนำ ไปคำนวณได้ ข้อมูลแบบนี้เขียนได้หลายรูปแบบ คือ           ก.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
Advertisements

เรื่อง ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
การประยุกต์ Logic Gates ภาค 2
Appendix A2 จัดทำโดย นางสาว อารยา จำปัน
ระบบเลขฐานสอง โดย นางสาวภาณุมาศ นักษัตรมณฑล รหัสนิสิต
เลขฐานต่าง ๆ อ.มิ่งขวัญ กันจินะ.
การเขียนโปรแกรมด้วยคำสั่งเบื้องต้น
กิจกรรมที่ 4 ข้อมูล จุดประสงค์
การแทนข้อมูลในคอมพิวเตอร์
การแทนค่าข้อมูล และ Primary Storage (Memory)
CS Assembly Language Programming
ความหมายของข้อมูลและสารสนเทศ
จำนวนนับ และการบวก การลบ การคูณ การหารจำนวนนับ
ทศนิยมและเศษส่วน F M B N โดย นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช.
Number System[1] เลขฐาน & ASCII CODE Number System[1]
การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
Week 6 ประกาศค่าตัวแปร.
NUMBER SYSTEM เลขฐานสิบ (Decimal Number) เลขฐานสอง (Binary Number)
Peopleware & Data บุคลากรและข้อมูล.
2 การเก็บรวบรวมข้อมูล Data Collection.
EEE 271 Digital Techniques
Digital Logic and Circuit Design
Number Representations
การหาค่ากำลังสองของเลขที่ลงท้ายด้วย 5
การหาค่ากำลังสองของเลขที่ลงท้ายด้วย 5
การหาค่ากำลังสองของเลขที่ลงท้ายด้วย 5
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
การจัดการข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์
ดิจิตอล + เลขฐาน บทที่ 2.
Introduction to Digital System
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ด้วยภาษาจาวา
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
จำนวนทั้งหมด ( Whole Numbers )
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
บทที่ 11 การเขียนโปรแกรมภาษาซี
อาร์เรย์และข้อความสตริง
Computer Coding & Number Systems
ตอนที่ 4 ความรู้พื้นฐานทางดิจิตอล
การแปลงเลขฐานใดๆเป็นฐานใดๆ
ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
โปรแกรมยูทิลิตี้.
เรื่อง คอมพิวเตอร์กับการประมวลผลข้อมูล
การแทนข้อมูล คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ซึ่งใช้สัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ในการทำงานเพื่อเก็บข้อมูล ประมวลผลและแสดงผลลัพธ์ การมองเห็นข้อมูลของคอมพิวเตอร์กับการมองเห็นข้อมูลของผู้ใช้จะไม่เหมือนกัน.
เรื่อง การสร้างตาราง (Table)
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่อง. หลักการทำงาน และ
ข้อมูลและสารสนเทศ.
CS Assembly Language Programming
ระบบคอมพิวเตอร์และการประมวลผล
ระบบคอมพิวเตอร์และการประมวลผล
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
ง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระบบเลขฐาน
ระบบเลขในคอมพิวเตอร์
เครื่องคอมพิวเตอร์. ? เครื่องคำนวณอิเล็กทรอนิกส์ ประกอบด้วยวงจร อิเล็กทรอนิกส์และไอซี ชิปเซ็ต ต่างๆ ที่สามารถจดจำ ประมวลผลข้อมูล เปรียบเทียบ ตัดสินใจทาง.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ระบบเลขฐาน.
ค32212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 4
รหัสคอมพิวเตอร์.
คอมพิวเตอร์ คืออะไร (What is computer?).  คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์  ทำงานภายใต้การควบคุม ของชุดคำสั่ง หรือ โปรแกรม (program) ซึ่ง เก็บอยู่ในหน่วยความจำ.
จำนวนจริง จำนวนอตรรกยะ จำนวนตรรกยะ เศษส่วน จำนวนเต็ม จำนวนเต็มบวก
ง31102 เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
ระบบเลขจำนวน ( Number System )
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
สารสนเทศ ข้อมูลและสารสนเทศ
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
การทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
ข้อมูล (Data) หมายถึง ข้อเท็จจริงต่างๆ ที่เรานำมาให้คอมพิวเตอร์ทำการประมวลผล คำนวณ หรือกระทำการอย่างใดอย่างหนึ่งให้ได้มาซึ่งผลลัพธ์ที่ต้องการ ปัจจุบันเราถือว่าข้อมูล.
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทั่วไปเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ชนิดของข้อมูล 1) ข้อมูลที่เป็นตัวเลข (Numeric Data) หมายถึง ข้อมูลที่ใช้แทนจำนวนที่สามารถนำ ไปคำนวณได้ ข้อมูลแบบนี้เขียนได้หลายรูปแบบ คือ           ก. เลขจำนวนเต็ม หมายถึง ตัวเลขที่ไม่มีจุดทศนิยม เช่น 12, 9, 137 , 8319 , -46           ข. เลขทศนิยม หมายถึง ตัวเลขที่มีจุดทศนิยม ซึ่งอาจมีค่าเป็นจำนวนเต็ม เช่น 12 หรือเป็นจำนวนที่มีเศษทศนิยมก็ได้ เช่น 12.763

2) ข้อมูลที่เป็นตัวอักขระ (Character Data) หมายถึง ข้อมูลที่ ไม่สามารถนำ ไปคำนวณได้ แต่อาจนำไปเรียงลำดับได้ เช่น การเรียงลำดับตัวอักษร ข้อมูลอาจเป็นตัวหนังสือ ตัวเลข หรือเครื่องหมายใด ๆ เช่น COMPUTER, ON-LINE, 1711101,&76 3) ข้อมูลที่เป็นรูปภาพ(Images Data)  คือข้อมูลที่เป็นภาพ  อาจเป็นภาพนิ่งหรือภาพเคลื่อนไหว  ภาพลายเส้น  ภาพถ่าย ภาพจากวิดิทัศน์ 4) ข้อมูลที่เป็นเสียง(Audio Data)  คือข้อมูลที่ประสาทสัมผัสทางหูรับรู้ได้  เช่นเสียงเพลง  เสียงนกร้อง  บทสัมภาษณ์ หรือเสียงจากสิ่งต่างๆเป็นต้น

ประเภทของข้อมูล ประเภทของข้อมูล ถ้าจำแนกข้อมูลออกเป็นประเภท จะแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Data) หมายถึง ข้อมูลที่ได้จากการรวบรวม หรือบันทึกจากแหล่งข้อมูลโดยตรง ซึ่งอาจจะได้จากการสอบถาม การสัมภาษณ์ การสำรวจ และการจดบันทึก ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) หมายถึง ข้อมูลที่มีผู้อื่นรวบรวมไว้ให้แล้ว บางครั้งอาจมีการประมวลผลเพื่อเป็นสารสนเทศ เช่น สถิติจำนวนประชากรแต่ละจังหวัด สถิติการนำสินค้าเข้า และการส่งสินค้า เป็นต้น

8 Bit = 1 Byte(ไบต์) = 1 ตัวอักษร การวัดขนาดข้อมูล 8 Bit = 1 Byte(ไบต์) = 1 ตัวอักษร 1,024 Byte = 1 KB (กิโลไบต์) = 1,024ตัวอักษร 1,024 KB = 1 MB (เมกกะไบต์) = 1,048,576ตัวอักษร 1,024 MB = 1 GB (กิกะไบต์) = 1,073,741,824ตัวอักษร 1,024 GB = 1 TB (เทระไบต์) = 1,099,511,627ตัวอักษร

ข้อมูลในคอมพิวเตอร์ ข้อมูลในคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ทำงานแบบดิจิทัลและใช้ระดับแรงดันไฟฟ้าแสดงเพียง 2 สถานะ คือ ปิด(แทนด้วย 0) เปิด(แทนด้วย 1 ) ซึ่งหากต้องการที่จะคอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการช่วยทำงาน เราต้องเรียนรู้ระบบเลขที่ประกอบด้วยตัวเลขเพียง 2 ตัว เช่นกัน จึงได้มีการคิดค้นระบบเลขฐานสอง(binary)ขึ้นเพื่อช่วยในการสื่อสารกับเครื่องคอมพิวเตอร์ เช่น 1112 ,101102 เป็นต้น

ระบบเลขฐานสอง ระบบเลขฐานสอง ระบบเลขที่เราคุ้นเคยกันอยู่ในชีวิตประจําวันคือระบบเลขฐานสิบ  (decimal  number)  โดยจะมีตัวเลขมูลฐานจํานวน  10  ตัว  ประกอบไปด้วย  0,1,2,3,4,5,6,7,8,และ 9  แต่ในระบบเลขฐานสองจะมีตัวเลขมูลฐานอยู่  2  ตัวเท่านั้น  คือ  0 และ 1 

ระบบเลขฐานสอง การแปลงค่าเลขฐานสิบเป็นเลขฐานสอง ตัวอย่าง 26 มีค่าเท่าไรในเลขฐานสอง

ระบบเลขฐานสอง ให้นำค่าเศษมาเรียงต่อกัน โดยเรียงจากค่าล่างสุด ไปหาค่าบนสุด เพราะฉะนั้นจะได้ค่าเท่ากับ 11010 ดั้งนั้น 26 มีค่าเท่าเท่ากับ 110102

ระบบเลขฐานสอง การแปลงค่าเลขฐานสองเป็นเลขฐานสิบ หลักหน่วย จะเท่ากับ 20 หรือเท่ากับ 1 หลักสิบ จะเท่ากับ 21 หรือเท่ากับ 2 หลักร้อย จะเท่ากับ 22 หรือเท่ากับ 4 หลักพัน จะเท่ากับ 23 หรือเท่ากับ 8 หลักหมื่น จะเท่ากับ 24 หรือเท่ากับ 16

ระบบเลขฐานสอง วิธีการแปลงคือจับตัวเลขของแต่ละหลัก คูณกับเลขประจำหลักของแต่ละตัว แล้วนำผลของแต่ละตัวมาบวกกัน ตัวอย่าง 1012 มีค่าเท่าไรในเลขฐานสิบ 1012 = (1 x 22 ) + (0 x 21 ) + (1 x 20 ) = 4 + 0 + 1 = 5

ระบบเลขฐานสอง ตัวอย่าง 101012 มีค่าเท่าไรในเลขฐานสิบ 101012 = [(1 x 24 ) + (0 x 23 ) + (1 x 22 ) + (0 x 21 ) + (1 x 20 ) = 16 + 0 + 4 + 0 + 1 = 21 ตัวอย่าง 10001102 มีค่าเท่าไรในเลขฐานสิบ 1000102 =(1x 25)+ (0x 24 )+ (0x 23 )+ (0x 22 )+ (1x 21 )+ (0x 20 ) = 32 + 0 + 0 + 0 + 2 + 0 = 34

การบวกเลขฐานสอง มีหลักการเหมือนการบวกเลขฐาน สิบ เลขฐานสองจะมีค่ามากที่สุดได้ แค่ 1 หากหลักใด 1 บวก 1 จะ ได้ 0 ทด ไว้ในหลักถัดไป 1

เช่น 100112 +1010 2 หลักที่ 1 2 3 4 5 ตัวทด ตัวตั้ง ตัวบวก ผลลัพธ์

เช่น 10012 +1111 2 หลักที่ 1 2 3 4 5 ตัวทด ตัวตั้ง ตัวบวก ผลลัพธ์

การลบเลขฐาน สอง พิจารณาเอาเลขที่เป็นตัวตั้งลบที่ละหลัก หากตัวตั้งเป็น 1 ตัวลบเป็น 0 ผลลัพธ์เป็น 1 หากตัวตั้งเป็น 0 ตัวลบเป็น 1 ผลลัพธ์เป็น 1 ต้องมีการดึงค่าในหลักที่อยู่ทางซ้ายมาได้ผลลัพธ์เป็น 1 และมีผลให้ค่าของหลักที่ถูกดึงมามีค่าเป็น 0

เช่น 100112 -1010 2 หลักที่ 1 2 3 4 5 ตัวทด ตัวตั้ง ตัวลบ ผลลัพธ์

หลักที่ 1 2 3 4 5 ตัวทด ตัวตั้ง 1(0) ตัวลบ ผลลัพธ์ เช่น 110012 - 1111 2 หลักที่ 1 2 3 4 5 ตัวทด 2(1) ตัวตั้ง 1(0) ตัวลบ ผลลัพธ์

คำถามท้ายหน่วย 1. 38 มีค่าเท่าไรในเลขฐานสอง 4. 11012 มีค่าเท่าไรในเลขฐานสิบ 2. 54 มีค่าเท่าไรในเลขฐานสอง 5. 1001012 มีค่าเท่าไรในเลขฐานสิบ 3. 65 มีค่าเท่าไรในเลขฐานสอง 6. 10100112 มีค่าเท่าไรในเลขฐานสิบ 7. 111012 กับ 1012 8. 11112 กับ 1012 END………………..