ภาษาโลโก(Logo).

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่อง เครือข่ายอินเทอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูล
Advertisements

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์
เรื่อง ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
โปรแกรมภาษาโลโก (logo)
เรื่อง การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
คำสั่งเริ่มต้น รูปแบบ. <HTML>. </HTML>
แบบทดสอบวิชาคอมพิวเตอร์
การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 3 ระบบคอมพิวเตอร์.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์.
ขั้นตอนการฝึกความคิดด้านการคิดวิเคราะห์
05/06/54 วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่องความหมายและองค์ประกอบของระบบสื่อสารข้อมูล.
FORM อ.กันทิมา อ่อนละออ
การงานอาชีพและเทคโนโลยี 2 (ง31102)
เตรียมการก่อนเขียนโปรแกรมควบคุมหุ่นยนต์เดินตามเส้น
Work From Anywhere To University
การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
พื้นฐานความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
บทที่ 2 หลักการแก้ปัญหา
การใช้บริการกูเกิล (Google) 1 การใช้บริการ Gmail 2 การใช้บริการ รูปภาพ บนเว็บ Google 3 การใช้บริการ Google Earth.
แผนผัง FlowChart Flow Chart คือ ขั้นตอนที่นำผลที่ได้จากการกำหนดและการ วิเคราะห์ปัญหามาเขียนเป็นแผนภาพหรือสัญลักษณ์ ประโยชน์ของผังงาน -ช่วยลำดับขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม.
และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง
องค์ประกอบพื้นฐาน ของโปรแกรม Visual Basic
Microsoft Word Part I Government Savings Bank Computer Trainging Í
Microsoft Word XP โดย พิสมัย น้ำจันทร์.
หน่วยที่ 2 วิธีการออกแบบโปรแกรม
Operating System ฉ NASA 4.
SCC : Suthida Chaichomchuen
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
โปรแกรมกราฟิก illustrator cs3
คอมพิวเตอร์ เบื้องต้น เสนอ อ.ฐิตาพร ดวงเกตุ
โปรแกรม DeskTopAuthor
วาดภาพสวยด้วย Paint.
การเขียนผังงาน จุดประสงค์ 1.อธิบายความของผังงานได้
บทที่ 2 หลักการแก้ปัญหา
ภาษาโลโก เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูงที่เหมาะสำหรับใช้ในการเรียนรู้ พัฒนาสติปัญญา และความคิดสร้างสรรค์ ช่วยให้นักเรียนเข้าใจหลักการการเขียนโปรแกรม ผู้เขียนโปรแกรมจะสามารถลองผิดลองถูก.
หลักการโปรแกรมเบื้องต้น
หน่วยนำเข้าข้อมูลของคอมพิวเตอร์ ครูสุวรรณ์ พิมเสน ครู คศ
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโปรแกรม Microsoft Access
การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
3.เด็กหญิง พีรยา ฉิมพาลี เลที่ 21
ระบบปฏิบัติการ ( Operating System : OS )
โรงเรียนเทศบาล ๕ (วัดหาดใหญ่)
การสืบค้นทางคณิตศาสตร์
การเขียนผังงาน (Flowchart)
โปรแกรมฐานข้อมูลที่นิยมใช้
การตั้งค่า Mouse จัดทำโดย นายนรินทร์ เรือนคำ เลขที่ 13
การออกแบบส่วนติดต่อกับผู้ใช้ User Interface Design
ซอฟต์แวร์ที่น่าสนใจ.
ยุคของคอมพิวเตอร์.
หลักการเคลื่อนที่ของหุ่นยนต์
Microsoft Windows Logo
การใช้งานอินเตอร์เน็ต
Software ซอฟต์แวร์.
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการโปรแกรมคอมพิวเตอร์
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษา C Introduction to C Programming Language
การสร้างสื่ออิเล็กทรอนิกส์ด้วยโปรแกรม CONTERT AUTHORING
บทที่ 2 การเข้าสู่โปรแกรม Microsoft Office Word 2003
เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาการใช้โปรแกรมกราฟิก
E-Portfolio.
การใช้งานอินเทอร์เน็ต
1. บทนำเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต อินเทอร์เน็ตมีจุดเริ่มต้นมาจากเหตุผล ทางการทหาร เนื่องจากในยุค สงครามเย็น เมื่อประมาณ พ. ศ 2510 ระหว่างฝ่ายคอมมิวนิสต์ และฝ่ายเสรี
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วยรับเข้า ทำหน้าที่รับข้อมูลจากผู้ใช้เข้าสู่หน่วยความจำหลัก ปัจจุบันมีสื่อต่าง ๆ ให้เลือกใช้ได้มากมาย แบ่งเป็นประเภทต่าง ๆ 1.แป้นพิมพ์ (Keyboard) 2.เมาส์
จัดทำโดย.... นางสาววริศรา ทาวรรณ์ เลขที่ 35 ชั้น ม.4/13
ซอฟต์แวร์ (software) จัดทำโดย นาย ยุทธพงศ์ คำยอง
หลักการโปรแกรมเบื้องต้น
วิชาคอมพิวเตอร์ คุณครูภาราดร ฟุ้งเฟื้อง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ภาษาโลโก(Logo)

1. ความเป็นมา ความเป็นมาของภาษาโลโกเริ่มขึ้นในปี พ.ศ.2513 เมื่อกลุ่มนักวิจัยของ สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ นำโดย เซย์มัว พาเพิร์ต ได้ทำการ ออกแบบและสร้างหุ่นยนต์ คล้ายกับของ เกย์ วอลเทอร์ เพื่อให้เด็ก ๆ สามารถเขียนโปรแกรมคำสั่งที่ใช้ภาษาที่เข้าใจง่าย สั่งให้โปรแกรม ทำงานตามที่ต้องการ พวกเขาจึงทำการพัฒนาภาษาคอมพิวเตอร์ขึ้น ใหม่ เรียกว่าภาษา “โลโก” เป็นภาษาที่ง่ายสำหรับเด็ก ช่วยให้เด็ก สามารถเขียนคำสั่งให้หุ่นยนต์เต่า (Logo) ภาษาโลโกจึงเป็น ทางเลือกใหม่ สำหรับเด็กในการฝึกทักษะทางภาษาคอมพิวเตอร์ และ สามารถสร้างงานจากจินตนาการ โดยอาศัยความเข้าใจพื้นฐานของ วิชาคณิตศาสตร์ที่ใช้ในชีวิตประจำวันได้

คำว่า “โลโก” หมายถึงหุ่นยนต์เต่า สามารถเคลื่อนที่ไปใน ทิศทางต่าง ๆ ได้โดยการควบคุมจากเครื่องคอมพิวเตอร์ ในขณะ ที่เคลื่อนที่จะเขียนรอยทางเดินไปตามทิศทางนั้น ๆ ด้วย ผู้เขียน โปรแกรมสามารถใช้คำสั่งภาษาอังกฤษที่เข้าใจได้ง่าย ๆ เช่น เมื่อต้องการให้เต่าเคลื่อนที่ไปด้านหน้าจะใช้คำสั่งว่า FORWARD (ซึ่งแปลว่า เดินหน้า) หรือ ต้องการให้ ย้อนกลับจะใช้คำสั่งว่า REVERSE (ซึ่งแปลว่า ย้อนกลับ) และคำสั่งให้เลี้ยวขวาหรือเลี้ยวซ้ายจะใช้ว่า RIGHT หรือ LEFT เป็นต้น

ภาษาโลโกมีจุดเริ่มต้นการพัฒนาโปรแกรมจาก ไบรอัน ฮาร์เวย์ และคณะทำงานที่มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนียร์ - เบิร์กเลย์ ซึ่ง เรียกโปรแกรมนี้ว่า "โลโกเบิร์กเลย์" หลังจากนั้นได้มีการพัฒนา อย่างต่อเนื่อง ให้สามารถใช้งานภายใต้ระบบปฏิบัติการที่ แตกต่างกัน จากระบบยูนิกซ์ (UNIX) เป็นระบบดอส (DOS) จนถึงปัจจุบัน ยอร์จ มิลส์ ได้พัฒนาให้สามารถ ทำงานภายใต้ระบบปฏิบัติการวินโดวส์ได้ เราเรียกโปรแกรมนี้ว่า “เอ็มเอสดับบลิวโลโก”(MSWLogo)

MSWLogo เป็นโปรแกรมรุ่นที่มีประสิทธิภาพสูงสุดจากโปรแกรมโล โกที่มีใช้ทั้งหมดในขณะนี้ เหมาะสำหรับใช้ในการเรียนระดับ ประถมศึกษาและมัธยมศึกษาตอนต้น และได้มีการเรียนการสอนเกี่ยวกับ โปรแกรมนี้อย่างแพร่หลายในประเทศสหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น ออสเตรเลีย และประเทศอื่น ๆ ทั่วโลก การใช้งานสะดวก ไม่ยุ่งยาก เหมือนโปรแกรม อื่นๆ ที่มีปุ่มเลือกและสัญรูป ต่างๆ เป็นจำนวนมาก โปรแกรมนี้จะกระตุ้น ให้นักเรียนมีความกล้าในการสร้างสรรค์งานกราฟิกรูปแบบต่าง ๆ จาก จินตนาการของตนเองได้ง่าย ช่วยให้มีพื้นฐานและความถนัดเบื้องต้นใน การเขียนโปรแกรม นอกจากนี้ความแพร่หลายของโปรแกรม MSWLogo ที่นำไปสอนในโรงเรียนต่าง ๆ ทำให้มีการสนับสนุน ทางด้านวิชาการและตัวอย่างโปรแกรมที่น่าสนใจเป็นจำนวนมาก โดย สามารถสืบค้นจากอินเทอร์เน็ตได้โดยง่าย

จอภาพแสดงการทำงาน

1 ส่วนที่ 1 มีชื่อเรียกว่าหน้าต่างแสดงผล (Display window) เริ่มต้นจะมีภาพเต่าโลโกเป็นรูปสามเหลี่ยม ชี้ไปทางทิศเหนือ (คือด้านบนของจอภาพ) และเมื่อมีการสั่งให้เต่าทำงาน จะแสดง รอยทางเดินที่เต่าเคลื่อนที่ไปในทิศทางที่กำหนด ด้วยความยาว ขนาดต่าง ๆ

2 ส่วนที่ 2 มีชื่อเรียกว่าหน้าต่างแสดงคำสั่ง (Commander window) คำสั่งที่สั่งให้เต่าโลโกทำงานเมื่อพิมพ์ลงไปแล้วจะ ปรากฏให้เห็นในหน้าต่างนี้ คำสั่งที่พิมพ์เข้าไปก่อนจะอยู่ บรรทัดบน ส่วนคำสั่งที่พิมพ์ตามเข้าไปจะอยู่บรรทัดล่าง คำสั่งเหล่านี้สามารถเรียกกลับมาใช้งานได้อีก

3 ส่วนที่ 3 มีชื่อเรียกว่าช่องป้อนเข้าข้อมูล (Input box) เป็นส่วน หนึ่งของหน้าต่างแสดงคำสั่ง เมื่อคลิกที่ช่องนี้จะปรากฏ เครื่องหมายเคอร์เซอร์ (Cursor) ทำให้สามารถพิมพ์คำสั่งลงไป ได้ครั้งละ 1 บรรทัด เมื่อพิมพ์เสร็จแล้วให้กดแป้น Enter เสมอ คำสั่งที่พิมพ์ลงไปจะไปปรากฏในหน้าต่างแสดงคำสั่ง

ขณะที่อยู่ในช่องป้อนเข้าข้อมูล ถ้ากดแป้นลูกศรขึ้น เคอร์เซอร์จะเข้าไปอยู่ในหน้าต่างแสดงคำสั่ง ด้านบน จึงสามารถเลือกคำสั่งเดิมให้ทำงานได้อีก (โดยคลิกที่ปุ่ม Execute)

คำสั่งเบื้องต้นในภาษาโลโก

ให้นักเรียนฝึกใช้คำสั่งพื้นฐานโดยสร้างรูป ต่างๆ

คำสั่งภาษาโลโกเพิ่มเติม http://tom.act.ac.th/teach/p6- 2549/logo/command2.htm