สวัสดี ครับ เพื่อนพี่น้องผู้ทรงคุณวุฒิทุกท่าน.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โรงเรียนวัดเขาปิ่นทอง
Advertisements

การขับเคลื่อนการพัฒนากระบวนการคิด
การเขียนบทความ.
งานวิจัย ผลการใช้แบบฝึกการเขียนคำที่มักเขียนผิด
โครงงานคืออะไร ??? ติดตามมาเลยนะครับ…..
สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
การวิจัย RESEARCH.
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
แนวคิดการจัดการเรียนรู้ และมาตรฐาน งานการวัดและประเมินผล ในสถานศึกษา
การศึกษารายกรณี.
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
สรุปภาพรวมการเรียนรู้
ความหมายของข้อมูลและสารสนเทศ
เพื่อรับการประเมินภายนอก
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544

การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การพัฒนาตัวชี้วัดสุขภาพผู้สูงอายุ: กรณีศึกษาจังหวัดลำพูน Development of Elderly Health Indicators in Thailand.
แนะนำวิทยากร.
2 การเก็บรวบรวมข้อมูล Data Collection.
สรุป การประเมินผลการควบคุมภายใน
ศึกษาความพึงพอใจของผู้บริหารและครูต่อสภาพแวดล้อมของสถานศึกษา อำเภอสนามชัยเขต จังหวัดฉะเชิงเทรา โดย เสมา แสนยากร.
คุณภาพการประเมินนักเรียนและสถานศึกษา เพื่อรับรางวัลพระราชทาน
การติดตาม และประเมินโครงการ.
มาตรฐานการศึกษา วีระ อุสาหะ.
: หัวข้อและความสำคัญของปัญหา
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
การออกแบบการจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับหลักสูตร และบริบทของสถานศึกษา
รศ. ดร. สุนีย์ เหมะประสิทธิ์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
การประเมินผลการเรียน
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
แนวคิดในการวิเคราะห์ผู้เรียนที่นิยม 5 แนวคิด
การวิเคราะห์ผู้เรียน
โมดูล 5 ผู้ใช้และความต้องการสารสนเทศ
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การวิจัยในชั้นเรียนด้านอาชีวศึกษา
การวิเคราะห์ข้อมูล.
.ผลงานด้านการเตรียมการสอน การจัดทำแผนการสอน
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน
การเขียนรายงานการวิจัย
ปัญหาการวิจัย โดย ดร.วรรณะ บรรจง.
ทบทวนทฤษฎีหลักสูตร ดร.อมรา เขียวรักษา.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
การเขียนรายงานการวิจัย
การประเมินผลในวิจัยชั้นเรียน
หน่วยที่ 5 การสร้างเครื่องมือวัดคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การทำผลงานวิชาการ สงวนลิขสิทธิ์.....โดย ดร.สุรชาติ สังข์รุ่ง.
งานวิจัยการเรียนการสอน การสร้างและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน โดยใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่องปัจจัยที่มีผลต่อการดำเนินธุรกิจ วิชาการหาข้อมูลทางการตลาด.
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
การพัฒนานวัตกรรมการศึกษา
คำนึง อุยตระกูล กศน.อำเภอบ้านไผ่
ผลแห่งความสำเร็จ 3 ห หลักเกณฑ์ หลักการ หลักฐาน.
การประเมินตามสภาพจริง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เรวดี กระโหมวงศ์
การนำเสนอและการประเมินผลโครงงาน
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
การวางเค้าโครงการวิจัยในชั้นเรียน
การสร้างเครื่องมือและรวบรวมข้อมูลเพื่อจัดทำผลงานทางวิชาการ
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
รายละเอียดของระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
15. การวิจัยเชิงสำรวจ Survey Research.
CIPP Model : การประกันคุณภาพ
ข้อมูล ข้อเท็จจริงหรือรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่สนใจศึกษา ซึ่งอาจอยู่ในรูปตัวเลข เช่น น้ำหนัก ความสูง ระยะทาง อายุ หรืออาจเป็นข้อเท็จจริงที่อยู่ในรูปคุณลักษณะหรือคุณสมบัติ
นางสาวธาราวรรณ เที่ยงดี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สวัสดี ครับ เพื่อนพี่น้องผู้ทรงคุณวุฒิทุกท่าน

การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล สำนักทดสอบทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

ประสิทธิภาพการบริหาร สมรรถภาพการเรียนการสอน สภาพการมีส่วนร่วม เก็บข้อมูลเพื่ออะไร คุณภาพการเรียนรู้ ประสิทธิภาพการบริหาร สมรรถภาพการเรียนการสอน สภาพการมีส่วนร่วม

ประเมินผลโดยใช้ความรู้สึกของตนเองไม่ได้ นะครับ ประเมินผลโดยใช้ความรู้สึกของตนเองไม่ได้ นะครับ

ข้อมูลปฐมภูมิ ข้อมูลทุติยภูมิ ข้อมูลเชิงปริมาณ ข้อมูลเชิงคุณภาพ ข้อมูล(DATA) ข้อมูลปฐมภูมิ ข้อมูลทุติยภูมิ ข้อมูลเชิงปริมาณ ข้อมูลเชิงคุณภาพ

พิจารณาข้อมูลต่อไปนี้ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 8 กลุ่มสาระ พฤติกรรมการเรียนรู้ Learning Style อัตราส่วนครูต่อนักเรียนชั้น ม.3 แหล่งเรียนรู้ภายในชุมชน รูปแบบโครงสร้างการบริหารโรงเรียน จำนวนสื่ออุปกรณ์สนับสนุนการสอน

พิจารณาข้อมูลต่อไปนี้ ความคิดเห็นของเจ้าอาวาสวัด วิสัยทัศน์ อัตลักษณ์ของโรงเรียน การจัดการเรียนรู้เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ข้อเสนอแนะของประธานสถานศึกษา ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ของนักเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียน

ข้อมูลปฐมภูมิ ข้อมูลใด ๆ ที่ต้องเก็บใหม่จากแหล่งข้อมูลที่เกี่ยวข้องทั้งหมด เป็นได้ทั้งข้อมูลเชิงปริมาณ จากการใช้แบบทดสอบ แบบสอบถาม และข้อมูลเชิงคุณภาพซึ่งอาจได้จากการสัมภาษณ์เชิงลึก การสังเกต การสนทนากลุ่ม การระดมสมอง เป็นต้น

ข้อมูลทุติยภูมิ ข้อมูลต่าง ๆ ที่มีอยู่แล้ว ซึ่งอาจจะอยู่ในรูปข้อมูลดิบที่ผู้อื่นได้รวบรวมไว้แล้ว ข้อมูลที่ผ่านการจัดกระทำข้อมูลหรือการวิเคราะห์มาแล้ว ข้อมูลประเภทเอกสาร และรายงานต่าง ๆ ซึ่งอาจอยู่ในรูปตัวเลขสถิติเชิงปริมาณ หรือเอกสารเชิงบรรยาย เช่นสรุปผลการดำเนินงาน รายงานการประชุม รายงานการประเมินตนเอง วารสารโรงเรียนหรือหลักฐานการลงทะเบียนร่วมกิจกรรมหรือร่วมประชุม คำสั่งหรือหนังสือราชการที่บันทึกไว้ในรูปแบบต่าง ๆ

ข้อมูลเชิงปริมาณเป็นข้อมูลที่มีการวัดออกมาเป็นตัวเลข ข้อมูลที่เป็นตัวเลขที่ผู้วิจัยสามารถนำไปใช้ในการวิเคราะห์ทางสถิติต่อไปได้ ข้อมูลเชิงปริมาณเป็นข้อมูลที่มีการวัดออกมาเป็นตัวเลข

เรียงอันดับ (Ordinal) อันตรภาค (Interval) อัตราส่วน (Ratio) ระดับของการวัด นามบัญญัติ (Nominal) เรียงอันดับ (Ordinal) อันตรภาค (Interval) อัตราส่วน (Ratio)

ข้อมูลเชิงคุณภาพ ข้อมูลที่มิใช่ตัวเลขที่จะนำไปวิเคราะห์ทางสถิติ ข้อมูลที่เป็นข้อความที่ได้จากคำถามปลายเปิดของการเก็บข้อมูลเชิงปริมาณ บันทึกการสังเกต สัมภาษณ์ สนทนากลุ่ม การเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพมักใช้เวลานาน แหล่งหรือพื้นที่การเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพมีขอบเขตน้อย

ขั้นตอนการเก็บรวบรวมข้อมูล ข้อมูลอะไร ได้มาจากไหน และเมื่อใด เก็บข้อมูลด้วยวิธีใด สร้างเครื่องมือใช้เก็บรวบรวมข้อมูล กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง ลงมือเก็บรวบรวมข้อมูล ตรวจสอบ ความน่าเชื่อถือ ความถูกต้อง ความครอบคลุมครบถ้วนของข้อมูล

การเก็บรวบรวมข้อมูล การศึกษาจากเอกสาร การสัมภาษณ์ การสังเกต

การศึกษาจากเอกสาร แผนพัฒนาคุณภาพ แผนปฏิบัติการประจำปี รายงานผลการปฏิบัติงานประจำปี รายงานการประชุม รายงานการวิจัย เอกสารทางวิชาการในชั้นเรียน

การสัมภาษณ์ ผู้บริหาร/ครู/เจ้าหน้าที่/กรรมการสถานศึกษา/ผู้ปกครอง/นักเรียน การสัมภาษณ์แบบเผชิญหน้า การสัมภาษณ์ทางโทรศัพท์ การสัมภาษณ์แบบกลุ่ม การสัมภาษณ์เชิงลึก

การสังเกต แหล่งข้อมูลทางกายภาพของสถานศึกษา แหล่งข้อมูลทางสังคมรอบสถานศึกษา สังเกตเหตุการณ์ ปรากฏการณ์ สังเกตสภาพแวดล้อม สังเกตการจัดกิจกรรมการเรียนรู้

การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ

การวิเคราะห์ ข้อมูลเชิงปริมาณ การวิเคราะห์ ข้อมูลเชิงปริมาณ การแยกประเภทข้อมูล การสังเขปข้อมูล การหาข้อสรุปข้อมูล การอธิบายความสัมพันธ์ข้อมูล

การวิเคราะห์ ข้อมูลเชิงคุณภาพ การวิเคราะห์ ข้อมูลเชิงคุณภาพ การจำแนกและจัดระบบข้อมูล การวิเคราะห์สรุปอุปนัย การเปรียบเทียบเหตุการณ์ การวิเคราะห์ส่วนประกอบ การวิเคราะห์ข้อมูลเอกสาร การวิเคราะห์สาเหตุและผล การสร้างจินตนาการเชิงสังคมวิทยา

Shared Vision

การตรวจสอบความถูกต้อง ข้อมูลเชิงคุณภาพ การตรวจสอบความถูกต้อง ข้อมูลเชิงคุณภาพ การตรวจสอบสามเส้าด้านข้อมูล การตรวจสอบสามเส้าด้านผู้วิจัย การตรวจสอบสามเส้าด้านทฤษฎี

การปฏิบัติงานร่วมกัน

สวัสดีครับ