ความท้าทาย....ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
Advertisements

วิสัยทัศน์ องค์กรหลักของประเทศในการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมเพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพดี 1.
Research Mapping.
แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๖ Service Plan บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ สุขภาพองค์รวม ทพ.อนุโรจน์ เล็กเจริญสุข ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ.
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
การมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน
ฟันดี สุขภาพดี ชีวีมีสุข ทพ.สุธาเจียรมณีโชติชัย ผอ.สำนักทันตสาธารณสุข
การป้องกันควบคุมโรคขาดสารไอโอดีน
บทบาท “ Six Key Function” ในจังหวัดภาคกลางตะวันตก
การส่งเสริมสุขภาพเด็กไทยวันนี้
แบบนำเสนอผลงานโครงการ
การเฝ้าระวังเหตุการณ์ในชุมชน
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
การประชุมเชิงปฏิบัติการใช้ค่ากลาง
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
โครงการศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค (ปี )
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
นโยบาย และแนวทางการแก้ไขปัญหาโรคเบาหวาน ระดับประเทศและภูมิภาค
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
โรงพยาบาลสวนสราญรมย์
การแต่งกายของนักเรียน
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
แนวทางการดำเนินงานของกรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ 2551
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
แนวทางการบริหารงบประมาณสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคระดับพื้นที่
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์. ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
บทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในการสร้างแรงจูงใจและมีส่วนร่วม
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM) ร่วมสองกรม
สรุปผลการส่งเสริมพัฒนาการเด็กวัย ๐ - ๕ ปี ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
การใช้ระบาดวิทยา เพื่อพัฒนาระบบเฝ้าระวังเหตุการณ์ในพื้นที่
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
ส่งเสริมสัญจร.
นายแพทย์สมพงษ์ สกุลอิสริยาภรณ์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
๒ ปี...ก้าวย่างของการพัฒนา
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑๐
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
สป.สธ. เลือกจากแผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
กลไกโภชนาการสมวัย นโยบาย สื่อสารสาธารณะ HUB/ทีมภาค ชุมชน สื่อสาร
โครงการในปีงบประมาณ 2558.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
และการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ประจำปี ๒๕๕๕ สาธารณสุขอำเภอป่าติ้ว
ข้อเสนอแนะของผู้นิเทศ ข้อเสนอแนะในประเด็นสำคัญ เพิ่มเติม ดังนี้
วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
ยุทธศาสตร์พัฒนาชุมชนน่าอยู่ เมืองน่าอยู่ ผลงาน ปี 2551 แผนงาน ปี 2552 ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก 2 กันยายน 2551.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความท้าทาย....ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค นางสาวอรุณี ศุภนาม กลุ่มงานควบคุมโรค สสสจ.ภูเก็ต

นโยบายศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค เด็กภายในศูนย์ฯ มีสุขภาพร่างกายแข็งแรง มีพัฒนาการสมวัย (ทั้งร่างกาย สมอง และจิตใจ) ปลอดจากโรคติดต่อที่สามารถป้องกันได้

เป้าหมาย เด็กในศูนย์เด็กเล็กมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง ไม่พบการระบาดของโรคติดต่อในศูนย์เด็กเล็ก เช่น โรคติดเชื้อทางเดินหายใจในเด็ก โรคมือ เท้า ปาก โรคอุจจาระร่วง เป็นต้น ศูนย์เด็กเล็ก สามารถดำเนินการได้ตามข้อกำหนดและผ่านเกณฑ์การประเมินรับรองเป็นศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค 3

ยุทธศาสตร์การดำเนินงาน 1. การสร้างเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพ 2. การขับเคลื่อนการดำเนินงานของภาคีเครือข่ายสาธารณสุข และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 3. การส่งเสริมและสร้างการยอมรับของศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค 5

กระบวนการพัฒนา...ศูนย์เด็กเล็ก กระทรวงสาธารณสุข Input Process Output Outcome Impact เข้าร่วมโครงการ ศดล. - น่าอยู่ - ปลอดโรค - ฯลฯ ดำเนินการตามแนวทาง ข้อกำหนดและเกณฑ์มาตรฐานของโครงการฯ - ผู้บริหาร - ครูและผู้ดูแลเด็ก - ผู้ปกครอง ผู้มีส่วนร่วมในชุมชน จนท.สธ. (ส่งเสริม, สนับสนุน, แนะนำ และประเมินรับรอง ผ่านการรับรองคุณภาพ - ศดล.น่าอยู่ - ศดล.ปลอดโรค - ฯลฯ - เด็กมีสุขภาพแข็งแรง ไม่เจ็บป่วย เด็กพฤติกรรมสุขภาพเหมาะสม - เด็กอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่สะอาด ปลอดจากโรค/ภัย โรค/ภัยลดลง พัฒนาการของเด็กเหมาะสมกับวัย ทั้งด้านร่างกาย สติปัญญา และอารมณ์ เด็กมีพัฒนาในการเรียนรู้ที่ดี เด็กมีอารมณ์แจ่มใส ร่าเริง และมีสุขภาพจิตที่ดี เด็กมีร่างกายที่แข็งแรง

ป้ายศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค เส้นทางก้าวสู่..... ศูนย์เด็กเล็ก 1.สมัครเข้าร่วมโครงการฯ (ผ่านสคร./สสจ.) 2. ได้รับการอบรมจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุข & ได้รับชุดสื่อการเรียนการสอน 3. ดำเนินงานตามข้อกำหนด ของกรมควบคุมโรค ไม่ผ่าน ผ่าน 80 % 4. รับการประเมินจากทีมเจ้าหน้าที่สาธารณสุข รับประกาศนียบัตร & ป้ายศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค 7

ปัจจัยส่งเสริมความสำเร็จ การมีส่วนร่วมของผู้บริหาร ผู้ปกครอง และชุมชน บุคลากรมีเพียงพอต่อการดำเนินงาน อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้ในการดูแลความสะอาดและการป้องกันควบคุมโรคเพียงพอ บุคลากรสาธารณสุขในพื้นที่มีส่วนร่วมในการพัฒนาในการให้ข้อแนะนำและคำปรึกษาที่เหมาะสม

ปัจจัยความสำเร็จ ชุมชนเข้มแข็ง ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค พ่อแม่ผู้ปกครอง ผู้บริหาร อบต. เจ้าหน้าที่ สาธารณสุข ครูผู้ดูแลเด็ก ครูพี่เลี้ยง ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค สภาพแวดล้อมสะอาดปลอดภัย ความรู้ การป้องกันควบคุมโรค พฤติกรรมสุขภาพถูกต้อง คัดกรอง เฝ้าระวัง เครือข่ายเข้มแข็ง ปัจจัยความสำเร็จ 9

ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค ๑. ครูผู้ดูแลเด็กมีสุขภาพและความรู้ดี ๒. การบริหารจัดการดี ๓. สภาพแวดล้อมดี + ๑๐ มาตรการ สำหรับครูผู้ดูแลฯ พฤติกรรมสุขภาพของเด็ก ภายในศูนย์ ยุทธศาสตร์ ๓ ดี ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค

ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค ภายนอกศูนย์ ผู้ปกครอง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ชุมชน กระทรวงสาธารณสุข สปสช. เอกชน, NGO ฯลฯ เครือข่ายการทำงาน อย่างมีส่วนร่วม - ร่วมรับรู้ - ร่วมคิด - ร่วมตัดสินใจ - ร่วมทำ - ร่วมตรวจสอบ - ร่วมรับผิดชอบ ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค นโยบายและแผนงานโครงการ บุคลากร – งบประมาณ - วัสดุอุปกรณ์

ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค ภายนอกศูนย์ ผู้ปกครอง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ชุมชน กระทรวงสาธารณสุข สปสช. เอกชน, NGO ฯลฯ ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค ผ่านการรับรอง

ปัญหาโรคติดต่อ -เด็กอยู่รวมกันจำนวนมาก -เด็กเล็กมีภูมิต้านทานโรคต่ำ เจ็บป่วยง่าย -เชื้อโรคแพร่กระจายได้ง่าย -การเจ็บป่วยอาจส่งผลต่อพัฒนาการและสุขภาพเด็ก -หากไม่ได้รับการดูแลตั้งแต่เริ่มป่วย อาจเกิดภาวะแทรกซ้อนรุนแรง -ผู้ปกครองต้องหยุดงานเพื่อดูแลเด็กป่วย ขาดรายได้ เสียค่าใช้จ่าย

โรคที่พบในศูนย์เด็กเล็ก โรคที่พบบ่อย - โรคหวัด - โรคอุจจาระร่วง เฉียบพลัน - โรคมือ เท้า ปาก โรคอื่นๆ ที่พบได้ - โรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน เช่น หัด คางทูม หัดเยอรมัน คอตีบ - โรคตาแดง - โรคอีสุกอีใส - โรคดำแดง ฯลฯ 14

จำนวนผู้ป่วยมือเท้าปาก รายตำบล อ.เมืองภูเก็ต เปรียบเทียบ ปี 2552-2556

จำนวนผู้ป่วยมือเท้าปาก รายตำบล อ.ถลาง เปรียบเทียบ ปี 2552-2556

จำนวนผู้ป่วยมือเท้าปาก รายตำบล อ.กะทู้ เปรียบเทียบ ปี 2552-2556

จำนวนผู้ป่วยหัด รายตำบล อ.เมืองภูเก็ต เปรียบเทียบ ปี 2552-2556

จำนวนผู้ป่วยหัด รายตำบล อ.ถลาง เปรียบเทียบ ปี 2552-2556

จำนวนผู้ป่วยหัด รายตำบล อ.กะทู้ เปรียบเทียบ ปี 2552-2556