Learning Organization & Knowledge Management

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงการพัฒนาทักษะการเรียนรู้แบบบูรณาการ
Advertisements

เพื่อทบทวนระบบและกลไกในการประกันคุณภาพการศึกษา
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
ณ ห้องฟ้าตรัง 1 โรงแรม เอ็ม.พี. รีสอร์ท อ.เมือง จ.ตรัง
ระบบส่งเสริมการเกษตร
ขั้นตอนการดำเนินงานศูนย์ข้อมูลกลางทางวัฒนธรรมระดับหน่วยงาน
การปฏิบัติและจัดการงาน ให้มีประสิทธิภาพ
การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชี้ สกอ. และ สมศ.
การจัดการความรู้ (KNOWLEDGE MANAGEMENT: KM)
กระบวนการ KM มี 7 ขั้นตอน
“แนวปฏิบัติจัดการความรู้” (The Practices of Knowledge Management)
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
จัดตั้งงานประสานศูนย์วิทยพัฒนา 25 สิงหาคม 2550
การทำงานสนับสนุนงาน PP ของศูนย์วิชาการเขต
แบบประเมินระดับความสำเร็จของการจัดการความรู้ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2553
KM การจัดการความรู้ พยาบาล ดร. ยุวดี เกตสัมพันธ์
7 ขั้นตอนในการจัดการความรู้ ของ กพร.
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
“Knowledge Management in Health Care”
Knowledge Management (KM)
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
การจัดการความรู้เพื่อยกระดับมาตรฐานในการปฏิบัติงาน
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
กองแผนงาน กรมส่งเสริมสหกรณ์
กรอบแนวคิด การพัฒนากองบริการการศึกษา.
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
(Knowledge Management : KM)
การจัดการความรู้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
“ทำงานประจำให้เป็นงานวิจัย R to R”
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
ผศ.ดร.กัลยาณี คูณมี ทีมที่ปรึกษาสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
องค์ประกอบของแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี พ.ศ ระดับกระทรวง และกรม
1 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ กลุ่มที่ 5. 2 สมาชิกกลุ่ม 18.
คน Man ผู้บริหาร บุคลากรของทุกระดับ.
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
โครงการส่งเสริมการพัฒนาสหกิจศึกษา ในสถาบันอุดมศึกษา
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โดย ดร. ประพนธ์ ผาสุขยืด สถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม
กระบวนการประกันคุณภาพ ภาควิชาการพยาบาลพื้นฐาน
ระเบียบวาระการเตรียมทีมนิเทศงาน ปี 2557
การจัดการความรู้ด้านสุขภาพ
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ขอต้อนรับทุก ท่าน WELCOME ! No 1. การบรรยายความรู้ มุมมองใหม่ กับการทำงานส่งเสริมเคหกิจ เกษตร วันพุธที่ ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๕๔ ระหว่างเวลา ๑๕. ๐๐ – ๑๖. ๐๐ น.
ระบบและกลไก การดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาในกลุ่มนักศึกษา วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดขอนแก่น LOGO.
ความเป็นมาของการจัดการ ความรู้ในกรมชลประทาน ตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์ และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ. ศ หมวดที่ 3 มาตราที่ 11 ระบุว่า.
การสัมมนาการประกันคุณภาพการศึกษา เรื่อง “การพัฒนาคุณภาพนักศึกษาด้านวิชาการ” วันที่ 12 กันยายน 2552 ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ชุมชนคนใกล้ หมอ นำเสนอ ในงาน KM DAY 28 สิงหาคม 2008.
ระบบส่งเสริมการเกษตร
แนวทางดำเนินงานจัดการความรู้ในงานส่งเสริมการเกษตร ให้ประสบผลสำเร็จ
เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มช.
โมเดลปลาทู “คุณเอื้อ” “คุณกิจ” “คุณอำนวย” CKO Knowledge Sharing (KS)
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
การบริหารองค์ความรู้ ครั้งที่ 1/2552
วิธีการเขียนรายงานการประเมิน
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
การวางแผนยุทธศาสตร์.
ผังจุดหมายปลายทาง การพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (PP) กองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่น และเทศบาลเมืองรังสิต จ.ปทุมธานี ภายในปี พ.ศ
การจัดการความรู้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพขององค์กร
การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง
แนวทาง KM ทร. ปี 53 ที่เชื่อมโยงและถ่ายทอดสู่ รร.นร.
แนวทางการจัดการความรู้ (Knowledge Management) ปีงบประมาณ 2558
“ การแลกเปลี่ยน บุคลากร ” ทางเลือกของการจัดการความรู้ใน สถานศึกษาเอกชนประเภทอาชีวศึกษา กรณีศึกษา : วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูกับ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรีบริหารธุรกิจ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Learning Organization & Knowledge Management แผนการพัฒนาการจัดการความรู้ มทส. 4 ปี (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2551-2554) E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt

หลักการและเหตุผล E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt

พระราชกฤษฎีกาว่าด้านหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ. ศ พระราชกฤษฎีกาว่าด้านหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 มาตราที่ 11 กำหนดไว้ว่า “หน่วยงานของรัฐมีหน้าที่พัฒนาความรู้ในหน่วยงาน เพื่อให้มีลักษณะเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้อย่างสม่ำเสมอ” ตัวบ่งชี้เพื่อการประกันคุณภาพการศึกษาที่ 7.3 “มีการพัฒนามหาวิทยาลัยสู่องค์การเรียนรู้” E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt

แนวทางปฏิบัติที่ดี (ในตัวบ่งชี้ที่ 7.3) ... มีการจัดทำแผนและกำหนดตัวบ่งชี้และเป้าหมายที่ชัดเจนในการจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ มีการดำเนินงานดำเนินงานตามแผน ประเมินแผน และปรับประแผนการจัดการความรู้ตามระบบ PDCA อย่างต่อเนื่อง มีระบบกลไกในการนำเอาผลการประเมินคุณภาพภายในและภายนอกด้านการจัดการความรู้มาปรับปรุงพัฒนาการจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัย มีการนำเอาองค์ความรู้และนวัตกรรมที่ได้จากการจัดการความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อมหาวิทยาลัยและสังคม E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt

วัตถุประสงค์ และเป้าหมาย การพัฒนาการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt

วัตถุประสงค์ของแผน เพื่อพัฒนามหาวิทยาลัยไปสู่การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ตามวิสัยทัศน์ที่ได้กำหนดไว้ เพื่อพัฒนาให้กระบวนการจัดการความรู้เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการทำงานปกติของหน่วยงานต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัย เพื่อพัฒนาขีดความสามารถและทักษะของบุคลากรของมหาวิทยาลัย ในการแสวงหาความรู้ การจัดการความรู้ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และการนำความรู้มาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt

เป้าประสงค์ของแผน มีแผนจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัย หน่วยงานของมหาวิทยาลัย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ได้ร่วมในการจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัย หน่วยงานที่เข้าร่วม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ได้พัฒนากระบวนการจัดการความรู้ไปเป็นส่วนหนึ่งของการทำงานปกติของหน่วยงาน มีเครือข่ายการจัดการความรู้ ระหว่างมหาวิทยาลัยกับหน่วยงานภายนอกต่าง ๆ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt

เป้าหมายระยะเวลาการพัฒนา 4 ปี (ปี งปม. 51-54) E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt

การขยายการจัดการความรู้สู่หน่วยงานสนับสนุนทั้งหมดของมหาวิทยาลัย กิจกรรม ปี 51 ปี 52 ปี 53 ปี 54 ระยะที่ 1 : การเริ่มต้นของการเผยแพร่เกี่ยวกับเรื่องการจัดการความรู้ และการสร้างกรณีตัวอย่างของมหาวิทยาลัย (เริ่ม ก.ค. 51) ระยะที่ 2 : การขยายการจัดการความรู้สู่หน่วยงานสนับสนุนทั้งหมดของมหาวิทยาลัย ระยะที่ 3 : การขยายการจัดการความรู้ไปสู่หน่วยงานด้านวิชาการ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt

หลักการและทฤษฎีที่ได้สำหรับกำหนดแนวทางการพัฒนาและการจัดทำแผนปฏิบัติการฯ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt

Organization Development Organization Behavior CORE VALUES PERSONAL MASTERY MENTAL MODELS SHARED VISION LEARNING TEAM THINKING SYSTEMS CORPORATE CULTURE Organization Development Organization Behavior

Explicit Knowledge Human Capital Information Capital Organization Capital Culture Leadership Alignment Teamwork Long-Term Shareholder Value Improve Cost Structure Improve Asset Utilization New Revenue Sources Increase Customer Value Price Quality Availability Selection Functionality Service Partner Brand Customer Value Proposition Product / Service Attributes Relationship Image Operation Management Processes Customer Management Innovation Regulatory & Social Supply Production Distribution Risk Management Acquisition Retention Growth Opportunity ID R&D Portfolio Design / Develop Launch Environment Safety & Health Employment Community Productivity Strategy Growth Strategy Financial Perspective Customer Internal Learning &

และศักยภาพที่ซ่อนเร้น การเรียนรู้ Tacit Knowledge การรับรู้ ประสบการณ์ การกระทำ ลักษณะนิสัย และศักยภาพที่ซ่อนเร้น อารมณ์ ความรู้สึก ความเชื่อ ความศรัทธา ถ้าท่านมีความเชื่อว่าคนเราจะมีฐานะร่ำรวยขึ้นมาได้นั้น จะต้องเล่นหวยไม่ว่าจะเป็นหวยบนดินหรือใต้ดิน ชีวิตของท่านทุกวันก็จะมีความผูกพันอยู่กับตัวเลข พยายามมองหาว่ามีต้นไม้แปลก, สัตว์แปลก ๆ หรือมีบ้านผีสิงอยู่ที่ใดบ้าง หรือแม้กระทั่งวัดที่มีพระที่ให้หวยแม่น ๆ ท่านจะพยายามมองหาสิ่งต่าง ๆ เหล่านี้เพื่อให้ได้ตัวเลขเด็ดมา ถ้าท่านได้ตัวเลขเด็ดมาแล้ว โดยเฉพาะอย่างยิ่งในวันที่ใกล้วันหวยออกด้วยแล้วท่านก็จะรู้สึกใจชื้นขึ้นมาทันที แต่ถ้าท่านยังหาตัวเลขไม่ได้ ก็จะรู้สึกกระวนกระวายใจ, ร้อนรน, หมกมุ่นอยู่กับการหาสถานที่ที่คาดว่าจะมีเลขให้ไปเล่นหวย และเมื่อท่านได้ทราบแล้วว่าที่ใดมีเลขเด็ดท่านก็จะไปขูดต้นไม้, ไปกราบหลวงพ่อ, เพ่งหยดเทียนในขันน้ำ เป็นต้น และถ้าท่านถูกหวยในงวดนั้น ก็จะยิ่งเพิ่มความเชื่อมั่นเข้าไปอีกว่าความร่ำรวยจะมาจากการเล่นหวยเท่านั้น เมื่อมีความเชื่อมากขึ้น กระทำเช่นนี้บ่อยครั้งเข้าก็จะติดเป็นนิสัยและจะกลายเป็นสันดานไปในที่สุด ดังนั้น จะเห็นได้ว่าต้นน้ำที่เป็นปัจจัยของความสำเร็จทั้งปวงก็คือความเชื่อที่อยู่ในตัวของเรานั่นเอง ถ้าเราเชื่อว่าเราสามารถทำได้ เราก็จะมุ่งมั่นทำ แต่ถ้าเราเชื่อว่างานนี้ทำไม่ได้แล้วฉันใด เราก็จะไม่ลงมือทำถึงแม้ว่างานนั้นจะง่ายก็ตามที วัฒนธรรม องค์กร ทัศนคติ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt

กระบวนการสร้างความรู้ : แนวคิด Nonaka and Takeuchi to Tacit Knowledge Explicit Knowledge Socialization Dialogue Externalization Memo, Note, Record Tacit Knowledge Internalization Publication, Presentation Combination Relation, Cause-effect Explicit Knowledge Knowledge Spiral

E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt

มองว่ากำลังจะไปทางไหน ต้องตอบได้ว่า “ทำ KM ไปเพื่ออะไร” ส่วนหัว ส่วนตา มองว่ากำลังจะไปทางไหน ต้องตอบได้ว่า “ทำ KM ไปเพื่ออะไร” Knowledge Vision (KV) Sharing (KS) ส่วนกลางลำตัว ส่วนที่เป็น “หัวใจ” ให้ความสำคัญกับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ช่วยเหลือ เกื้อกูลซึ่งกันและกัน (Share & Learn) Assets (KA) ส่วนหาง สร้างคลังความรู้ เชื่อมโยงเครือข่าย ประยุกต์ใช้ ICT “สะบัดหาง” สร้างพลังจาก CoPs

แนวทางการพัฒนา E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt

2 การขยายการจัดการความรู้สู่หน่วยงานสนับสนุนทั้งหมดของ มหาวิทยาลัย ระยะที่ จำนวนแนวทาง 1. การเริ่มต้นของการเผยแพร่เกี่ยวกับเรื่องการจัดการความรู้ และการสร้างกรณีตัวอย่างของมหาวิทยาลัย 12 2 การขยายการจัดการความรู้สู่หน่วยงานสนับสนุนทั้งหมดของ มหาวิทยาลัย 6 3. การขยายการจัดการความรู้ไปสู่หน่วยงานด้านวิชาการ 4 E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt

แนวทางการพัฒนา… (ที่ได้ดำเนินการไปแล้ว) จัดให้มีคณะทำงานจัดการความรู้ในระดับมหาวิทยาลัย สนับสนุนให้มีหน่วยงานเริ่มต้นในการจัดการความรู้ เพื่อให้มีผลงานเป็นตัวอย่าง ประชาสัมพันธ์ไปยังหน่วยงานต่าง ๆ เชิญชวนเข้าร่วมในการจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัย จัดทำแผนพัฒนาการจัดการความรู้ฯ ปีงบประมาณ 2551-2554 และแผนปฏิบัติการจัดการความรู้รายปี สร้างเครือข่ายการจัดการความรู้กับหน่วยงานภายนอกต่าง ๆ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt

แนวทางการพัฒนา… (ที่อยู่ระหว่างการดำเนินการ) ประเมินผลการดำเนินการตามแผนจัดการความรู้ และนำไปพัฒนาปรับปรุง โดยมีการติดตามผลความคืบหน้าเป็นประจำทุกเดือน เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์แผนการจัดการความรู้ และผลการดำเนินการจัดการความรู้ให้แก่ประชาคมของมหาวิทยาลัยได้ทราบ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt

แนวทางการพัฒนา… (ที่จะเร่งรัดดำเนินการต่อไป) จัดกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อส่งเสริมให้ความรู้แก่บุคลากรของมหาวิทยาลัยในเรื่องการจัดการความรู้ และนำไปวางระบบการจัดการความรู้ของหน่วยงาน กำหนดโครงสร้างของทีมจัดการความรู้ และบทบาทภายในทีมอย่างชัดเจน เร่งรัดการดำเนินการให้เป็นไปตามแผนจัดการความรู้ที่ได้กำหนดไว้ สร้างและพัฒนาทีมงานหลักที่จะทำหน้าที่เป็นผู้ให้ความรู้ ข้อแนะนำและอบรมให้ความรู้แก่ทีมการจัดการความรู้ ส่งเสริมให้เกิดชุมชนนักปฏิบัติ (Community of Practice : CoP) E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt

แนวทางการพัฒนา… (ระยะ 2, 3) พัฒนาระบบการจัดเก็บความรู้ของหน่วยงานและของมหาวิทยาลัย ส่งเสริมให้กระบวนการจัดการความรู้ ให้เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการทำงานปกติของหน่วยงาน สนับสนุนให้มีการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ทั้งภายในและนอกมหาวิทยาลัย E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt

ผลการดำเนินการตามแผน (ก.ค.51-ต.ค.51) E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt

มีแผนจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัย... แผนปฏิบัติการฯ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 แผนการพัฒนาการจัดการความรู้ฯ ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2551-2554) E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt

(จากหน่วยงานทั้งหมดของ มทส.) หน่วยงานของมหาวิทยาลัย เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 รวม 28 หน่วยงาน คิดเป็นร้อยละ 93.33 (จากหน่วยงานทั้งหมดของ มทส.) E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt

มีเครือข่ายการจัดการความรู้ ระหว่างมหาวิทยาลัยกับหน่วยงานภายนอกต่าง ๆ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt

ข้อเสนอ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt

การจัดทำแผนปฏิบัติการ KM ร่วมกัน (แบบมีพี่เลี้ยง) Workshop การจัดทำแผนปฏิบัติการ KM ร่วมกัน (แบบมีพี่เลี้ยง) กระบวนการ_____________________________________________________ เรื่องเล่า : E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt

การมีเวทีร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ Workshop การมีเวทีร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ กระบวนการ_____________________________________________________ เรื่องเล่า : เช่น การประกันคุณภาพภายใน, การจัดทำแผนปฏิบัติการ ประจำปีของหน่วยงาน, การบริหารความเสี่ยงของ หน่วยงาน เป็นต้น E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt